• Tidak ada hasil yang ditemukan

ระดับของการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของ OECD

ร่วมมือ

ระดับต่ำ ระดับกลาง ระดับสูง

1. การสร้างและเก็บ รักษาความเข้าใจที่มี

ร่วมกัน

1) นักเรียนสื่อสารสิ่งที่

ไม่เกี่ยวข้องกับปัญหา 2) นักเรียนมีการ โต้ตอบที่ไม่ได้แสดงถึง มุมมองของนักเรียนที่

มีเกี่ยวกับปัญหา 3) นักเรียนกระทำสิ่งที่

สร้างความเข้าใจผิดใน การแบ่งปันความรู้กับ เพื่อนร่วมกลุ่ม 4) นักเรียนให้ข้อมูลที่

ไม่สอดคล้องกับข้อมูล

1) นักเรียนสร้างและ ตอบโต้การสอบถาม ด้วยข้อมูลที่เหมาะสม กับบริบทและมุมมอง ของตนเองและผู้อื่น 2) นักเรียนสร้างและ ตอบโต้ต่อการร้องขอ เพื่อกำหนดเป้าหมาย ในการแก้ปัญหาเข้าใจ ข้อจำกัดของปัญหา และความต้องการของ งาน

1) นักเรียน กระตือรือร้นที่จะ แบ่งปันข้อมูลและ มุมมองเกี่ยวกับตนเอง และผู้อื่นเมื่อมีความ จำเป็น

2) นักเรียนมีส่วนใน การสอบถามข้อมูล เกี่ยวกับความสามารถ และความคิดเห็นของ สมาชิกอื่น ๆ ในกลุ่ม 3) นักเรียนมีส่วนใน

29 ตาราง 2 ระดับของการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของOECD (ต่อ)

การแก้ปัญหาแบบ ร่วมมือ

ระดับต่ำ ระดับกลาง ระดับสูง

ของสมาชิกในกลุ่ม 5) นักเรียนให้ข้อมูลใน ช่วงเวลาและ

สถานการณ์ที่ไม่

เหมาะสม

3) นักเรียนรับทราบ ข้อผิดพลาดที่อาจ เกิดขึ้นในการทำความ เข้าใจร่วมกัน 4) นักเรียนจัดการกับ ปัญหาที่เกิดจากการ แบ่งปันข้อมูลที่ไม่

ถูกต้องเมื่อได้รับการ ร้องขอ

การร้องขอให้มีการ ชี้แจงเป้าหมายของการ แก้ปัญหาข้อจำกัดของ ปัญหาและความ ต้องการของงานตาม ความเหมาะสมของ บริบทและสถานการณ์

4) นักเรียนตรวจพบ ข้อผิดพลาดที่อาจ เกิดขึ้นในการทำความ เข้าใจร่วมกันจากนั้นได้

กระทำและสื่อสารเพื่อ แก้ไขข้อผิดพลาด ดังกล่าว

2. การเลือก วิธีดำเนินการที่

เหมาะสมในการ แก้ปัญหา

1) นักเรียนดำเนินการ หรือสื่อสารอย่างไม่

ตั้งใจลองผิดลองถูกหา ข้อผิดพลาดและ มองข้ามปัญหาที่

เกิดขึ้นในระหว่าง กระบวนการแก้ปัญหา 2) นักเรียนดำเนินการ อย่างไม่เหมาะสม สำหรับการแบ่งงาน 3) นักเรียนเสนอการ ปรับเปลี่ยนแผนการ

1) นักเรียนแสดง ปฏิกิริยาร้องขอ เกี่ยวกับการดำเนินงาน และแผนการ

ดำเนินงานที่สามารถ แก้ปัญหาได้ดีขึ้น 2) นักเรียนดำเนินการ ทำงานที่สอดคล้องกับ แผนการดำเนินงาน ตามบทบาทและงานที่

ได้รับมอบหมาย

1) นักเรียนสอบถาม ข้อมูลเกี่ยวกับการ ดำเนินงานและ แผนการดำเนินงานที่

จะนำไปสู่การ แก้ปัญหาโดยสมาชิก ของกลุ่มทุกคนเพื่อ แก้ปัญหาตามบริบทที่

เหมาะสม

2) นักเรียนเป็นผู้ริเริ่ม ในการระบุประเด็น ปัญหาเสนออธิบาย

30 ตาราง 2 ระดับของการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของOECD (ต่อ)

การแก้ปัญหาแบบ ร่วมมือ

ระดับต่ำ ระดับกลาง ระดับสูง

ดำเนินงานที่ไม่

เหมาะสมสำหรับการ แก้ปัญหา

3) การกระทำและการ สื่อสารของนักเรียน แสดงให้เห็นถึงความ พยายามในการ จัดลำดับขั้นตอนใน การแก้ปัญหา

4) นักเรียนทราบถึงผล การดำเนินงานเมื่อ ได้รับแจ้ง

5) นักเรียนมีส่วนร่วม ในการปรับเปลี่ยน แผนการดำเนินงานแต่

ไม่ได้เป็นผู้ริเริ่ม

หรือเปลี่ยนแผนการ ดำเนินงานเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงปัญหาที่

ต้องแก้หรือเมื่อมี

อุปสรรคที่มีผลต่อการ แก้ปัญหา

3) นักเรียนมีส่วนใน การตรวจสอบการ ดำเนินงานของสมาชิก ในกลุ่ม

4) นักเรียนร่วมระบุ

แนวทางที่มี

ประสิทธิภาพที่จะใช้

ในการแก้ปัญหา 3. การสร้างและรักษา

ระเบียบของกลุ่ม

1) นักเรียนกระทำ และสื่อสารให้เห็นว่า นักเรียนไม่เข้าใจ บทบาทและหน้าที่

ของสมาชิกคนอื่น ๆ ในทีม

2) นักเรียนดำเนินการ อย่างไม่เหมาะสม สำหรับการมอบหมาย หน้าที่และงานแก่

เพื่อนร่วมกลุ่ม 3) นักเรียนพยายามที่

1) นักเรียนรับทราบ และยืนยันบทบาท หน้าที่ของตัวเองตามที่

สมาชิกในกลุ่มได้

มอบหมาย

2) การกระทำและการ สื่อสารของนักเรียน สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนเป็นส่วนหนึ่ง ของกลุ่มที่จะพยายาม แก้ปัญหา

3) นักเรียนดำเนินงาน

1) การกระทำและการ สื่อสารของนักเรียน แสดงถึงการเริ่มมี

ความเข้าใจและ วางแผนบทบาทหน้าที่

ของกลุ่มที่แตกต่างกัน ที่จะต้องมีการ ดำเนินการเพื่อการ แก้ปัญหา

2) นักเรียนยอมรับรู้

สอบถามกำหนดหรือ ยืนยันบทบาทหน้าที่ที่

31 ตาราง 2 ระดับของการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของOECD (ต่อ)

การแก้ปัญหาแบบ ร่วมมือ

ระดับต่ำ ระดับกลาง ระดับสูง

จะดำเนินการในการ มอบหมายงานที่

แตกต่างกันแก่สมาชิก ในกลุ่มทุก ๆ คนโดย ไม่คำนึงถึง

ความสามารถของแต่

ละคน

4) นักเรียนพยายามที่

จะแก้ปัญหาด้วยตัว นักเรียนเองเมื่อมี

ความจำเป็นที่จะต้อง ได้ความช่วยเหลือซึ่ง กันและกันภายในกลุ่ม

ที่เป็นไปตามแผนที่วาง ไว้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในส่วนของหน้าที่ของ ตนเอง

4) นักเรียนมีการ โต้ตอบอย่างเหมาะสม เมื่อถูกถามเกี่ยวกับ การกำหนดและ มอบหมายหน้าที่

บทบาทของนักเรียน 5) นักเรียนรับทราบ หรือยืนยันเมื่อได้รับ ข้อมูลการได้รับ คำอธิบายหรือสิ่งอื่นที่

แสดงให้เห็นเกี่ยวกับ อุปสรรคที่เกิดขึ้นใน กระบวนการแก้ปัญหา หรืออธิบายที่เป็นการ แสดงออกถึงการเกิด อุปสรรค

ดำเนินการโดยสมาชิก ในกลุ่ม

3) นักเรียนเป็นผู้เริ่ม การกระทำสิ่งที่เป็น การระบุเสนออธิบาย หรือเปลี่ยนแปลง บทบาทของนักเรียน และสมาชิกในกลุ่ม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ปัญหาที่ต้องการแก้

หรือเมื่อสมาชิกกลุ่ม ไม่ได้ปฏิบัติงานตามที่

วางแผนไว้

4) นักเรียนมีส่วนใน การแจ้งให้สมาชิกใน กลุ่มทำงานที่ได้รับ มอบหมายให้เสร็จ สำหรับหน้าที่ของแต่

ละคนโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในเวลาและ สถานการณ์ที่

เหมาะสม

Hesse and other (2015) ได้กล่าวถึง ระดับพฤติกรรมในการประเมินการแก้ปัญหาแบบ ร่วมมือของ PISA 2015 ดังตาราง 3

32

Garis besar

Dokumen terkait