• Tidak ada hasil yang ditemukan

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก

สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก

มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์

จริง/สถานการณ์จ าลองที่เกิดขึ้นใน ห้องเรียน สถานศึกษา และชุมชน

การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จ าลอง ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา และชุมชน

สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก

มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1. ใช้ภาษาต่างประเทศในการ สืบค้น/ค้นคว้า รวบรวมและสรุป ความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อและ แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆในการศึกษา ต่อและประกอบอาชีพ

การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/การค้นคว้าความรู้/

ข้อมูลต่าง ๆจากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ใน การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ

2. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร ของโรงเรียนเป็น ภาษาต่างประเทศ

การใช้ภาษาต่างประเทศในการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์

ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน เช่น การท าหนังสือเล่มเล็ก แนะน าโรงเรียน การท าแผ่นปลิว ป้ายค าขวัญ ค าเชิญชวน แนะน าโรงเรียน การน าเสนอข้อมูลข่าวสารในโรงเรียนเป็น ภาษาอังกฤษ

สรุปได้ว่า สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษล้วนมีความส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่งใช้

ชีวิตประจ าวัน เพราะเป็นเครื่องมือส าคัญในการติดต่อสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้

การประกอบอาชีพ การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลกและตระหนัก ถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม และมุมมองของสังคมโลก ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความเข้าใจ ตนเองและผู้อื่นดีขึ้น เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม

23 ประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารได้ รวมทั้งเข้าถึงองค์ความรู้ต่าง ๆ ได้ง่ายและกว้างขึ้น

โครงสร้างหลักสูตร

กระทรวงศึกษาธิการ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ก าหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรียนปีละ 120 ชั่วโมง

ค าอธิบายรายวิชา และหน่วยการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก าหนดค าอธิบาย รายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ดังต่อไปนี้

1. ค าอธิบายรายวิชา

ใช้ภาษา น้ าเสียง และท่าทาง สื่อสารตามมารยาทสังคมและภาษา ในการสื่อสารโดยใช้เทคโนโลยีในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ในการเรียน การปฏิบัติงาน การสมัครงาน ขอและให้ข้อมูล ความช่วยเหลือ และบริการผู้อื่น ถ่ายโอนข้อมูลที่ได้ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงค า วลี ส านวนง่ายๆ ประโยคค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า ค าอธิบาย ข้อความที่ซับซ้อน ข้อมูล บทอ่าน เรื่องราวสั้นๆ ทั้งที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียงจากสื่อสิ่งพิมพ์

และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แล้วถ่ายโอนเป็นถ้อยค าของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ สรุป แสดงความคิดเห็น ความต้องการ ความรู้สึกเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง บทกวี บทเพลง บทละครสั้น เปรียบเทียบ ข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์ส าคัญต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวัน ท้องถิ่นและสังคม ประสบการณ์ส่วนตัว การศึกษา การท างาน เทคโนโลยี งานประเพณี วันส าคัญของชาติ ศาสนา วัฒนธรรมไทยและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษ เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม สามารถใช้ภาษาเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

2. หน่วยการเรียนรู้

2.1 Unit 1 : Myself

2.1.1 Personal Development Mental/Physical 2.1.2 Opinions

2.1.2.1 Social Policy

2.1.2.2 Local Issues Related to Students 2.1.3 Expectation

2.1.3.1 Personal 2.1.3.2 Peers 2.1.3.3 Adults

24 2.2 Unit 2 : Interests/Opinion

2.2.1 Places to go 2.2.1.1 Parks

2.2.1.2 Shopping Centers 2.2.1.3 Festivals

2.2.1.4 Holiday Travel 2.2.1.5 Movies

2.2.1.6 Museums 2.2.1.7 Exhibitions 2.2.1.8 Concerts 2.3 Unit 3 : Health Emotional Causes

Cause and Effect of Various Feeling 2.4 Unit 4 : Places (My Community) Tourist Attractions

Transportation History

Material Resources (eg. Brochure, Leaflet) Mapping

2.5 Unit 5 : People Relationships 2.6 Unit 6 : Culture

General Information Food

Dance Festivals Religions Places 2.7 Unit 7 : Places

Thailand’s Ecosystem Business Interests

25 Nationalities

Religions Entertainment Diet

2.8 Unit 8 : Foreign Culture

Eastern Culture & Western Culture Business Interests

Nationalities Religions Entertainment Diet

สรุปได้ว่า หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 เป็นแนวทางส าคัญ หรือหลักยึดในการบริหารจัดการหลักสูตรต่าง ๆ ในระดับชาติ โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญและมุ่งเน้นให้

ผู้เรียนคิดเป็น ท าเป็น แก้ปัญหาเป็น และเป็นพลโลกที่มีคุณภาพ ส าหรับหลักสูตรกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศนั้น ประกอบด้วย 4 สาระ 8 มาตรฐาน ซึ่งมุ่งหวังให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า ของภาษาอังกฤษ ทั้งการพูด การอ่าน การเขียน การสื่อสาร เพื่อให้สามารถใช้สื่อสารในสถานการณ์

ต่าง ๆ ได้ และใช้ภาษาในการแสวงหาความรู้เปิดโลกทัศน์ของตน อีกทั้งเป็นเครื่องมือพื้นฐาน ในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก

ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ

1. ความหมายของการพูดภาษาอังกฤษ

สุภัทรา อักษรานุเคราะห์ (2540) ได้ให้ความหมายว่า การพูดเป็นการถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกออกมาเป็นรหัสของภาษาพูดให้ผู้อื่นเข้าใจ นอกจากจะใช้การเน้นหนักในค า ระดับเสียงสูง ต่ าในประโยค เพื่อสื่อความหมายแล้ว ยังแสดงถึงวัฒนธรรมและสถานภาพของผู้พูดด้วย คือการแสดง จุดมุ่งหมายในการพูดให้ถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์

สุมิตรา อังวัฒนกุล (2539) ได้ให้ความหมายว่า การพูดเป็นการเป็นการถ่ายทอด ความคิดความเข้าใจและความรู้สึกให้ผู้ฟังได้รับรู้และเข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้พูดดังนั้น ทักษะการพูด จึงเป็นทักษะที่ส าคัญส าหรับบุคคลในการสื่อสารในชีวิตประจ าวัน ซึ่งผู้ที่พูดได้ย่อมสามารถเข้าใจและ ฟังผู้อื่นได้เข้าใจ และจะช่วยให้การอ่านและการเขียนง่ายขึ้นด้วย อย่างไรก็ตามทักษะการพูดเป็น ทักษะที่ซับซ้อน จึงควรได้รับการฝึกฝนอยู่อย่างสม่ าเสมอจึงจะสามารถจดจ าได้นานและคงทน

26 พรสวรรค์ สีป้อ (2550) ได้ให้ความหมายว่า การพูด คือ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ในสังคม เป็นการสื่อสารทางวาจาของคนตั้งแต่สองคนขึ้นไปต่างฝ่ายต่างก็มีจุดประสงค์ที่จะสื่อสาร แตกต่างกันออกไป โดยค านึงถึงความเหมาะสมกับสังคมและวัฒนธรรม

Bailey, K.M. (2005) ให้ความหมายของการพูดว่า การพูดหมายถึงการเปล่งเสียง ออกมาเพื่อให้เกิดความหมายเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้พูด ผู้ฟัง และข้อมูล การพูดเป็น Productive skills เพราะผู้พูดเป็นผู้ให้ข้อมูล หรือเป็นผู้ส่งสาร

Thornbury, S (2005) ได้กล่าวถึงความหมายของทักษะการพูดไว้ว่า การพูด หมายถึง ภาษาที่ถูกสร้างขึ้นโดยการเปล่งเสียงพูดแบบค าต่อค าเพื่อตอบคู่สนทนา

Hughes, R. (2001) ได้กล่าวถึงความหมายของการพูดไว้ว่า การพูด หมายถึงวิธีการ เรียนรู้ภาษาวิธีแรกที่ใช้ในชีวิตประจ าวันของผู้คน และเป็นวิธีการเปลี่ยนแปลงทางภาษาได้ดี การพูด ยังเป็นการแสดงถึงความเข้าใจของนักเรียนที่เรียนภาษาที่สองและนักเรียนที่ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร เนื่องจากการพูดเปรียบเสมือนกลไกการรับรู้และรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่และสื่อสารออกไปด้วย การออกเสียง

สรุปได้ว่า การพูดหมายถึงกระบวนการในการสื่อสารหรือถ่ายทอดข้อความของมนุษย์โดย การใช้ถ้อยค าน้ าเสียงและอากัปกิริยาท่าทางเพื่อถ่ายทอดความคิดความรู้ความรู้สึกระหว่างบุคคล ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปจากบุคคลหนึ่งซึ่งเรียกว่าผู้พูดหรือผู้ส่งสารไปยังอีกบุคคลหนึ่งซึ่งเรียกว่าผู้ฟังหรือ ผู้รับสารโดยได้รับรู้และเกิดการตอบสนองสัมฤทธิ์ผลตามจุดมุ่งหมายของการพูด

2. ความส าคัญของการพูดภาษาอังกฤษ

สุภัทรา อักษรานุเคราะห์ (2540)แสดงถึงความส าคัญของการสอนทักษะพูด

ภาษาอังกฤษในระยะที่ผ่านมาเน้นการฝึกการออกเสียง (Pronunciation) โดยการฝึกการออกเสียง หนักเบาในค า (Stress) ระดับเสียงสูงต่ าในประโยค (Intonation) ตลอดจนการฝึกโครงสร้างประโยค หลาย ๆ แบบ (Pattern Drills) โดยเน้นความถูกต้อง (Accuracy) ตามหลักภาษาศาสตร์จนละเลย ที่จะฝึกยุทธวิธีที่จะพูดให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ตนพูดและสามารถได้ตอบในความเร็วปกติของเจ้าของ ภาษาได้มาใช้โดยเฉพาะในด้านการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประโยค (Discourse Analysis) ซึ่งเชื่อว่าภาษาไม่ได้เกิดโดดเดี่ยวแต่ขึ้นอยู่กับบริบททางสังคม (Social Context) เนื่องจากการพูด เป็นการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคมจึงมีการเปลี่ยนแปลงให้ฝึกทักษะการพูดในระดับข้อความ ซึ่งเน้นการเลือกประโยคมาใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม (Use) แทนการน าบทสนทนาในลักษณะที่เน้น โครงสร้างมาใช้ (Structural Dialog) การสอนทักษะพูดเพื่อการสื่อสารนี้ผู้พูดจะต้องใช้ความสามารถ ทางภาษาทุกด้านทั้งนี้เพราะนอกจากใช้ศัพท์และโครงสร้างที่ตนรู้จักแล้วยังต้องใช้ความสามารถ ตีความเดาความหมายท านายเรื่องที่ผู้พูดจะกล่าวถึงต่อไปตลอดจนเข้าใจความหมายแฝงในค าพูดได้

ถึงแม้ว่าผู้พูดจะไม่ได้พูดออกมาโดยตรงก็ตาม

27 สุมิตรา อังวัฒนกุล (2539) แสดงถึงความส าคัญของทักษะการพูดภาษาอังกฤษเป็น จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนภาษาตามวิธีสอนแบบพูดมุ่งให้นักเรียนสามารถสื่อสารได้โดยใช้

ภาษาต่างประเทศที่เรียนได้โดยนักเรียนจะต้องฝึกภาษาที่เรียนนั้นซ้ า ๆ จนเกิดเป็นนิสัยสามารถพูดได้

โดยไม่ต้องหยุดคิดครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษาที่เรียนให้แก่นักเรียน ในการเลียนแบบ นักเรียนนั้นเป็นผู้ลอกเลียนแบบและปฏิบัติตามครูวิธีสอนแบบพูดเน้นภาษาที่พูดในชีวิตประจ าวัน ซึ่งครูผู้สอนต้องจัดระดับความซับซ้อนของภาษานักเรียนที่เพิ่มเรียนใหม่จะเรียนรู้รูปแบบง่ายๆก่อน โดยจะน าค าศัพท์และโครงสร้างประโยคมาให้ฝึกในรูปแบบต่าง ๆ เช่นพูดซ้ า ๆ ถามตอบซึ่งทักษะที่

นักเรียนสนใจมากที่สุดคือทักษะการพูดการฝึกออกเสียงตั้งแต่เริ่มแรกการเรียนการสอนในห้องเรียน ควรใช้ภาษาต่างประเทศที่เรียนไม่ใช้ภาษาแม่ของนักเรียนการวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาของ นักเรียนและภาษาต่างประเทศที่เรียนจะท าให้ครูผู้สอนคาดได้ว่าจุดไหนที่นักเรียนประสบความยุ่งยาก มากที่สุดการป้องกันไม่ให้นักเรียนท าผิดนั้นส าคัญเพราะความผิดพลาดจะก่อนิสัยที่ไม่ดีฉะนั้นเมื่อ นักเรียนท าผิดครูผู้สอนต้องรีบแก้ไขทันทีวิธีสอนแบบนี้ต้องใช้อุปกรณ์ประกอบการสอนเพื่อช่วยให้

เกิดความเข้าใจรวดเร็วถูกต้องท าให้การเรียนการสอนไม่น่าเบื่อ

กุศยา แสงเดช (2548) ได้กล่าวว่า การพูดเป็นเครื่องมือที่มีความส าคัญใน การสื่อสาร มุ่งเน้นให้ผู้พูดได้ใช้ทักษะการพูดเพื่อการสื่อสารในสถานการณ์จ าลองต่าง ๆ โดยครูผู้สอนต้องเป็น แบบอย่างที่ดีในการพูดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามสถานการณ์

Peterson, P. W. (2001) กล่าวว่าทักษะการพูดเป็นทักษะพื้นฐานในการสื่อสาร ซึ่งเป็นทักษะที่จ าเป็นและต้องเรียนรู้ก่อนทักษะอื่น ๆการพูดภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศนั้น มักเกิดความยุ่งยากในการออกเสียงเน้นหนักเบาในค าและในประโยค การใช้ภาษาแสลงและส านวน ต่าง ๆท าให้ยากในการเข้าใจ จึงต้องใช้กลวิธีในการสื่อสารเพื่อที่จะท าให้การสื่อสารประสบ

ความส าเร็จ

Watkins (2005) กล่าวถึงความส าคัญของการพูดว่า เป็นการใช้ภาษา เพื่อความสัมพันธ์

ทางสังคม ผู้พูดจะต้องค านึงถึงกาลเทศะและความเหมาะสมในการพูดแต่ละครั้งนอกจากนั้นยังต้อง พูดให้ตรงประเด็น มีการใช้ค าพูดและโครงสร้างได้อย่างถูกต้อง ซึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

นักเรียนจ าเป็นต้องฝึกพูดโดยครูผู้สอนเป็นผู้จัดกิจกรรมเพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกพูด ให้มากที่สุดเท่าที่จะท าได้

สรุปได้ว่า การพูดภาษาอังกฤษมีบทบาทส าคัญในชีวิตประจ าวัน เพราะเป็นเครื่องมือที่ใช้ใน การติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารในทั้งทางธุรกิจ การประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อ จึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ จะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการพูดภาษาอังกฤษ ให้ถูกต้อง และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกพูดอยู่อย่างสม่ าเสมอ