• Tidak ada hasil yang ditemukan

คะแนนความกล้าเสี่ยงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในขณะที่เรียนโดยใช้

กิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด

เลขที่

คะแนนความกล้าเสี่ยงในขณะที่เรียน

รวม คะแนน

(576) แผนที่

1 (72)

แผนที่

2 (72)

แผนที่

3 (72)

แผนที่

4 (72)

แผนที่

5 (72)

แผนที่

6 (72)

แผนที่

7 (72)

แผนที่

8 (72)

1 42 40 43 46 47 47 42 45 352

2 41 43 44 42 43 45 42 41 341

3 43 51 40 43 42 43 44 40 346

4 40 40 48 43 45 42 40 43 341

5 36 50 47 44 43 48 43 46 357

6 63 45 43 54 45 54 54 54 412

7 48 45 42 40 40 36 40 42 333

8 40 44 40 42 42 40 41 40 329

9 38 46 42 46 46 36 46 45 345

10 66 63 57 63 63 63 66 63 504

11 45 45 54 54 48 54 54 45 399

12 63 66 57 66 48 63 63 63 489

13 42 54 45 45 47 54 57 45 389

14 42 45 48 43 45 45 46 45 359

15 66 66 57 66 63 66 66 66 516

16 45 54 45 45 54 54 63 45 405

17 42 45 45 46 45 42 45 45 355

18 45 53 46 45 46 46 47 46 374

19 46 52 46 45 46 45 51 46 377

20 42 45 45 54 54 54 63 54 411

104 ตาราง 18 (ต่อ)

เลขที่

คะแนนความกล้าเสี่ยงในขณะที่เรียน

รวม คะแนน

(576) แผนที่

1 (72)

แผนที่

2 (72)

แผนที่

3 (72)

แผนที่

4 (72)

แผนที่

5 (72)

แผนที่

6 (72)

แผนที่

7 (72)

แผนที่

8 (72)

รวม 1007 992 934 972 952 977 1013 959 7734

47.95 49.60 46.70 48.60 47.60 48.85 50.65 47.95 386.70 S.D. 9.52 7.86 5.41 8.11 6.30 8.65 9.33 7.81 56.46 ร้อย

ละ

66.60 68.89 64.86 67.50 66.11 67.85 70.35 66.60 67.14 จากตาราง 18 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ดมีคะแนนเฉลี่ยของความกล้าเสี่ยงในขณะที่เรียนคิดเป็นร้อยละ 67.14

ตาราง 19 คะแนนความกล้าเสี่ยงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในขณะที่เรียนโดยใช้กิจกรรม พาเนลดิสคัสชั่น

เลขที่

คะแนนความกล้าเสี่ยงในขณะที่เรียน

รวม คะแนน

(576) แผนที่

1 (72)

แผนที่

2 (72)

แผนที่

3 (72)

แผนที่

4 (72)

แผนที่

5 (72)

แผนที่

6 (72)

แผนที่

7 (72)

แผนที่

8 (72)

1 38 42 45 44 51 47 45 44 356

2 36 36 42 42 48 43 42 42 331

3 44 43 48 48 54 63 48 48 396

4 42 44 44 36 39 43 40 40 328

5 43 36 42 39 44 43 47 42 336

6 30 45 42 44 46 42 42 40 331

7 36 45 45 48 42 45 45 48 354

X

105 ตาราง 19 (ต่อ)

เลขที่

คะแนนความกล้าเสี่ยงในขณะที่เรียน

รวม คะแนน

(576) แผนที่

1 (72)

แผนที่

2 (72)

แผนที่

3 (72)

แผนที่

4 (72)

แผนที่

5 (72)

แผนที่

6 (72)

แผนที่

7 (72)

แผนที่

8 (72)

8 54 45 48 51 48 54 48 51 399

9 54 54 45 48 51 54 45 48 399

10 45 43 42 42 42 45 42 42 343

11 42 36 43 39 50 42 52 46 350

12 42 43 45 43 39 42 46 41 341

13 48 45 45 43 45 48 45 46 365

14 45 45 42 42 45 45 42 42 348

15 48 42 39 45 42 48 39 45 348

16 48 48 45 48 51 48 45 48 381

17 42 48 43 39 48 42 40 39 341

18 36 53 44 45 45 43 42 50 358

19 45 45 43 36 36 45 44 36 330

20 42 36 42 42 36 42 43 42 325

21 45 54 43 45 48 45 45 45 370

รวม 905 928 917 909 950 969 927 925 7430

43.10 44.19 43.67 43.29 45.24 46.14 44.14 44.05 353.81 S.D. 5.83 5.41 2.11 4.04 5.06 5.25 3.10 3.93 23.41 ร้อย

ละ

59.85 61.38 60.65 60.12 62.83 64.09 61.31 61.18 61.43 จากตาราง 19 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมพาเนลดิสคัสชั่นมีคะแนนเฉลี่ยของความกล้าเสี่ยงในขณะที่เรียน คิดเป็นร้อยละ 61.43

X

106

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาการใช้เทคนิคอภิปรายแบบดิสคัสชั่นคาร์ดและ

แบบพาเนลดิสคัสชั่นเพื่อพัฒนากลวิธีสื่อสารทักษะการพูดและความกล้าเสี่ยงในการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยได้สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ตามล าดับ ดังนี้

1. ความมุ่งหมายของการวิจัย 2. สรุปผล

3. อภิปรายผล 4. ข้อเสนอแนะ ความมุ่งหมายของการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ตั้งความมุ่งหมายของการวิจัยไว้ดังนี้

1. เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคอภิปราย แบบดิสคัสชั่นคาร์ด และแบบพาเนลดิสคัสชั่น ในการพัฒนากลวิธีสื่อสารทักษะการพูด และความกล้าเสี่ยงในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ 70/70

2. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคอภิปราย แบบดิสคัสชั่นคาร์ด และแบบพาเนลดิสคัสชั่น ในการพัฒนากลวิธีสื่อสารทักษะการพูด และความกล้าเสี่ยงในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

3. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการพูดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการใช้เทคนิคอภิปรายแบบดิสคัสชั่นคาร์ด และแบบพาเนลดิสคัสชั่น

4. เพื่อศึกษาการใช้กลวิธีการสื่อสารของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในขณะที่เรียนโดยการใช้เทคนิคอภิปรายแบบดิสคัสชั่นคาร์ด และแบบพาเนลดิสคัสชั่น

5. เพื่อศึกษาความกล้าเสี่ยงพูดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในขณะที่เรียนโดยการใช้เทคนิคอภิปรายแบบดิสคัสชั่นคาร์ดและแบบพาเนลดิสคัสชั่น

107 สรุปผล

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้

1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการใช้เทคนิคอภิปรายในการพัฒนากลวิธีสื่อสาร ทักษะการพูดและความกล้าเสี่ยงในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แบบกิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด และกิจกรรมพาเนลดิสคัสชั่น มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 72.07/71.88 และ 66.12/65.33 ตามล าดับ

2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดและการศึกษา ความกล้าเสี่ยงในการพูดภาษาอังกฤษโดยการใช้เทคนิคการอภิปรายแบบกิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด มีค่าเท่ากับ 0.4706 แสดงว่านักเรียน มีความก้าวหน้าทางการเรียนคิดเป็นร้อยละ 47.06 และกิจกรรมพาเนลดิสคัสชั่น มีค่าเท่ากับ 0.3634 แสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนคิดเป็น ร้อยละ 36.34

3. ทักษะการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการอภิปรายแบบกิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด และกิจกรรมพาเนลดิสคัสชั่น แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้

แบบกิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบกิจกรรม พาเนลดิสคัสชั่น

4. กลวิธีการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้

โดยใช้เทคนิคการอภิปรายแบบกิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด มีการใช้กลวิธีสื่อสาร เฉลี่ยร้อยละ 81.25 และ กิจกรรมพาเนลดิสคัสชั่น มีการใช้กลวิธีสื่อสาร เฉลี่ยร้อยละ 67.81 โดยกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้

โดยใช้เทคนิคการอภิปรายแบบกิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับ การจัดกิจกรรมแบบพาเนลดิสคัสชั่น

5. พฤติกรรมความกล้าเสี่ยงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการอภิปรายแบบกิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด มีความกล้าเสี่ยง เฉลี่ยร้อยละ 67.14 และกิจกรรมพาเนลดิสคัสชั่น มีความกล้าเสี่ยง เฉลี่ยร้อยละ 61.43 โดยกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการอภิปรายแบบกิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมแบบพาเนลดิสคัสชั่น

108 อภิปรายผล

จากการวิจัยครั้งนี้สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้

1. ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดและการศึกษา ความกล้าเสี่ยงในการพูดภาษาอังกฤษโดยการใช้เทคนิคการอภิปรายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ดเท่ากับ 72.07/71.88 หมายความว่า นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจากการ ประเมินทักษะการพูดภาษาอังกฤษและคะแนนความกล้าเสี่ยงระหว่างเรียนทั้ง 8 แผน

คิดเป็นร้อยละ 72.07 และผลจากการทดสอบทักษะการพูด คิดเป็นร้อยละ 71.88 ซึ่งเป็นไป ตามเกณฑ์ 70/70 ที่ก าหนด และกิจกรรมพาเนลดิสคัสชั่นเท่ากับ 66.12/65.33 หมายความว่า นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินทักษะการพูดภาษาอังกฤษและคะแนนความกล้าเสี่ยง

ระหว่างเรียนทั้ง 8 แผน คิดเป็นร้อยละ 66.12 และผลจากการทดสอบทักษะการพูดคิดเป็นร้อยละ 65.33 ซึ่งต่ ากว่าเกณฑ์ 70/70 ที่ก าหนด

ทั้งนี้เนื่องจากผู้วิจัยได้มีการศึกษาหลักสูตร เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีการวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเท ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษาวิเคราะห์ด้านเนื้อหาการวางแผนจัดกิจกรรม กระบวนการเรียนรู้และจัดท าสื่อการสอนให้น่าสนใจสอดคล้องกับ ส าลี รักสุทธี (2546) ที่ได้เสนอว่า การท าแผนการจัดการเรียนรู้มีขั้นตอนเริ่มตั้งแต่ศึกษาหลักสูตรวิเคราะหจุดประสงคการเรียนรู

เนื้อหา เวลา กิจกรรม หากลวิธีการสอน จัดท าสื่อการเรียนการสอนจัดท าเครื่องมือการวัดและ ประเมินผลรวมถึงการก าหนดโครงสรางรายวิชา จากนั้นน าไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องให้

ค าแนะน าและน ามาปรับปรุงแก้ไขให้เกิดความสมบูรณ์ แล้วน าไปด าเนินการตามขั้นตอนการวิจัยและ พัฒนาโดยท าการทดลองใช้กับนักเรียน มีการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง ก่อนที่จะน าไปใช้จริงกับ นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเทคนิคอภิปรายผลแบบกิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด เป็นกระบวนการที่ผู้สอนมุ่ง ให้ผู้เรียนมีโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือระดมความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งอาจจะ เป็นเรื่องหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนหรือกลุ่มที่มีความสนใจร่วมกันโดยมีจุดประสงค์เพื่อหา ค าตอบแนวทางหรือแก้ปัญหาร่วมกัน โดยใช้บัตรภาพ บัตรข้อความที่มีเนื้อหาที่สอดคล้อกับหัวข้อ เป็นข้อมูล เป็นแนวทางให้กับนักเรียน สอดคล้องกับ Thornbury, S. (2005) ได้กล่าวว่าเทคนิค อภิปรายเป็นการจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับครูผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นกิจกรรม อภิปรายเน้นการพูดคล่อง ไม่มีการตรวจแก้ จึงท าให้ประสิทธิภาพของกิจกรรม การพัฒนาทักษะ การพูดและความกล้าเสี่ยงในการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ด มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 70/70 ที่ก าหนดไว้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ

วราภรณ์ โสภักดี (2557) ที่พบว่า ประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียน

109 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมอะลิไบส์ เท่ากับ 63.56/60.00 และกิจกรรมอินไควรี เท่ากับ 69.05/68.18 สอดคล้องกับ การวิจัยของ Buhler, H. C., (2000) ที่พบว่า การใช้บทบาทสมมติ

ผสมผสานกับการช่วยเหลือของครูและเพื่อนที่มีความสามารถมากกว่าส่งเสริมให้นักเรียนใช้ภาษาเพื่อ การสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนกิจกรรมพาเนลดิสคัสชั่น มีประสิทธิภาพไม่เป็นไปตามเกณฑ์

ที่ก าหนด อาจเป็นเพราะกิจกรรมพาเนลดิสคัสชั่น เป็นกิจกรรมที่นักเรียนต้องคิดค าศัพท์หรือประโยค ที่จะใช้ในการอภิปรายด้วยตนเอง เน้นให้นักเรียนได้ใช้ทักษะความสามารถในการพูดแสดง ความคิดเห็นต่อเหตุการณ์หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่ออภิปรายด้วยกลวิธีของตนเอง ซึ่งจะต้องใช้

กลวิธีสื่อสาร และความกล้าเสี่ยงในการพูด แสดงความคิดเห็น นักเรียนต้องคิดหาค าพูดมาแสดง ความคิดเห็นต่อเหตุการณ์นั้น ๆ เหมือนกับการโต้วาที ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ค่อนข้างยาก เพราะภาษา ที่ใช้ค่อนข้างไหลตัวเองส าหรับนักเรียน สอดคล้องกับ Harmer, J. (2003) ที่ได้กล่าวถึงกิจกรรมการ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นว่าถ้าการพูดอภิปรายนั้นเป็นเรื่องที่กระตุ้นให้เกิดการใช้ภาษาแบบ ธรรมชาติและเป็นการใช้ภาษาที่ใกล้ตัวนักเรียนจะสามารถท ากิจกรรมและเรียนรู้ได้ดีขึ้น ขณะที่

กุศยา แสงเดช (2548) ได้กล่าวถึงทักษะการพูดเบื้องต้นว่า ต้องเน้นให้นักเรียนได้ใช้ภาษาใน สถานการณ์จริง ดังนั้นครูจึงต้องจัดกิจกรรมที่น าไปสู่การพูดโดยมีแม่แบบที่ถูกต้อง อย่างไรก็ตามใน การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้น ากลวิธีสื่อสารมาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อช่วยให้นักเรียนพูดได้ถูกต้อง และคล่องแคล่วมากขึ้น โดยพบว่ากลวิธีสื่อสารสามารถช่วยให้ผู้เรียนพูดภาษาที่ต้องใช้ศัพท์โครงสร้าง ซับซ้อนได้ดีขึ้น ทั้งการใช้ภาษาแม่ปนกับภาษาที่สอง การขอความช่วยเหลือ การแสดงท่าทาง ขอ ความช่วยเหลือในด้านค าศัพท์ จึงท าให้มีทักษะการพูดภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่วสอดคล้องกับ แนวคิดของ Bailey, K.M. (2005) ว่า การพูดเพื่อให้สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้นผู้พูด ต้องใช้กลวิธีการสื่อสาร ซึ่งเป็นกลวิธีที่ผู้พูดใช้เมื่อเกิดปัญหาในการสื่อสาร บางครั้งที่ผู้พูดกับผู้ฟัง สื่อสารกันไม่ได้ความหมายอันเนื่องมาจากข้อจ ากัดหลายอย่าง เช่น ความไม่เข้าใจกฎเกณฑ์ของ ภาษาที่ก าลังใช้ ความไม่สนใจของคู่สนทนาเท่าที่ควร จึงจับใจความไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้

ภาษาที่สอง เมื่อเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวผู้พูดจึงต้องใช้กลวิธีสื่อสารต่าง ๆ เข้ามาช่วย เพื่อให้การ สื่อสารนั้นสื่อความหมายได้ถูกต้องตามเจตนาของผู้พูด และพูดถูกต้องเหมาะสมตามสถานการณ์และ บริบท

2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดและ การศึกษาความกล้าเสี่ยงในการพูดภาษาอังกฤษโดยการใช้เทคนิคการอภิปรายแบบกิจกรรมดิสคัสชั่น คาร์ด มีค่าเท่ากับ 0.4706 แสดงว่านักเรียน มีความก้าวหน้าทางการเรียนคิดเป็นร้อยละ 47.06 และกิจกรรมพาเนลดิสคัสชั่นมีค่าเท่ากับ 0.3634 แสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนคิด เป็นร้อยละ 36.34 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยการบูรณาการกลวิธี

สื่อสารเทคนิคอภิปรายในการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมดิสคัสชั่นคาร์ดและกิจกรรม