• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวิจัยนี เป็น การวิจัยเชิงทดลองสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ซึง มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ เพือสร้าง รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ และทําการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรียนด้านทักษะ การคิดทั งก่อนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี

3.1 ขั นตอนในการดําเนินการวิจัย

ขั นตอนที 1 การวางแผนการสอน

ขั นตอนที 2 การดําเนินการตามแผนการสอน ขั นตอนที 3 การวัดและประเมินผล

ขั นตอนที 1 การวางแผนการสอน

ขั นตอนการดําเนินงาน ผลลัพธ์ทีได้

1.1 เตรียมเอกสารทีจะนําไปใช้ในแผนการจัดการ เรียนรู้

ข้อมูลทีเกียวข้องกับแผนการจัดการเรียนรู้

1.2 นําข้อมูลทีเกียวข้องกับแผนการจัดการเรียนรู้เชิง บูรณาการ มาวิเคราะห์และเรียบเรียง

รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการทีมีลําดับ ขั นตอนทีชัดเจน

1.3 พิจารณาข้อมูลและพัฒนาเครืองมือวัดผลสัมฤทธิ

ทางการเรียนด้านทักษะการคิดของผู้เรียน ทั งก่อน และหลังใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

เครืองมือวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะ การคิดของผู้เรียน

ขั นตอนที 2 การดําเนินการตามแผนการสอน

ขั นตอนการดําเนินงาน ผลลัพธ์ทีได้

2.1 ในระหว่างทําการทดลอง มีการทดสอบผลสัมฤทธิ

ทางการเรียนด้านทักษะการคิดของกลุ่มทดลอง ก่อน ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

ข้อมูลผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิด ของกลุ่มทดลอง

2.2 ทําการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิง บูรณาการ พร้อมทําการวัดและประเมินผลของกลุ่ม ทดลอง

ผลจากการวัดและประเมินผลของกลุ่มทดลอง

2.3 หลังทําการทดลอง มีการทดสอบผลสัมฤทธิ

ทางการเรียนด้านทักษะการคิดของกลุ่มทดลอง หลัง ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

ข้อมูลผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิด ของกลุ่มทดลอง

ขั นตอนที 3 การวัดและประเมินผล

ขั นตอนการดําเนินงาน ผลลัพธ์ทีได้

3.1 ทําการวัดผลโดยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ

ทางการเรียนด้านทักษะการคิดของกลุ่มทดลองทั ง ก่อนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิง บูรณาการ ซึงอยู่ในรูปของค่าเฉลียและค่าส่วน เบียงเบนมาตรฐานทีนํามาจากการประมวลผลโดย โปรแกรม ทางสถิติ

ผลการวิเคราะห์ทีเป็นผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้าน ทักษะการคิดของกลุ่มทดลอง

3.3 ทําการประเมินผลจากผลลัพธ์ทีได้จากขั นตอน การดําเนินงาน ที 3.1

ผลการประเมินจากการใช้รูปแบบการจัดการ เรียนรู้เชิงบูรณาการ

3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ชั น ปีที 4 จํานวน 60 คน ซึงกําลังเรียนในปีการศึกษาที 1/2553 เนืองจาก เป็นกลุ่มนักศึกษา ทีผู้วิจัย ได้ทําการสอนในรายวิชาระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจ ซึงเป็นรายวิชาทีใช้ในการทํา วิจัยเชิงทดลอง

3.3 เครืองมือทีใช้ในการวิจัย

1. แผนการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิดทั งก่อนและหลังการใช้แผนการจัดการ เรียนรู้เชิงบูรณาการ

3. แบบบันทึกผลสัมฤทธิทางการเรียนด้านทักษะการคิดทั งก่อนและหลังการใช้แผนการจัดการ เรียนรู้เชิงบูรณาการ

3.4 การพัฒนา/ หาคุณภาพของเครืองมือเก็บรวบรวมข้อมูล

1. การพัฒนาเครืองมือ

ในส่วนการพัฒนาเครืองมือนั น สามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบคือ

1.1 เครืองมือสําหรับการทดสอบผลสัมฤทธิ ทางการเรียน จัดในรูปของ แบบทดสอบ อัตนัย ทีเน้นเนื อหาจากสิงทีได้เรียนมา โดยแบ่งคําถามออกเป็นทั งหมด 3 ข้อ ซึงลักษณะของ คําถามแต่ละข้อ ซึงทีมานั น ผู้วิจัยได้นําทฤษฏีลําดับขั นการเรียนรู้ของ เบนจามิน บลูม (Benjamin Bloom) มาประยุกต์ใช้

1.2 เครืองมือสําหรับการวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิด จัดอยู่ในรูปแบบ ของ แบบบันทึกผลคะแนนจากการทดสอบกับผู้เรียนทั งก่อนและหลังใช้แผนการจัดการเรียนรู้เชิง บูรณาการ ซึงทีมานัน ผู้วิจัยได้นําแผนการเรียนรู้(ตามเอกสาร มคอ.3,ภาคผนวก ค) มาประยุกต์ใช้

2. การตรวจสอบคุณภาพเครืองมือ

ทําการตรวจสอบความเทียงตรงตามเนื อหา โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ข้อสอบกับผลการเรียนรู้ทีคาดหวังทีต้องการจะวัด โดยใช้วิธีการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ซึง ผู้วิจัยได้นําแบบทดสอบไปให้อาจารย์ทีเชียวชาญในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และด้านการ วัดผลประเมินผล จํานวน 5 ท่าน เพือพิจารณาตัดสินว่า ข้อคําถามทั ง 3 ข้อนั นสอดคล้องกับผล การเรียนรู้ทีคาดหวังหรือไม่ ซึงผลการตรวจสอบคุณภาพเครืองมือ กับคําถามทั ง 3 ข้อนั น พบว่ามี

ความสอดคล้องกับผลการเรียนรู้

3.5 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล

3.5.1 การวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ซึงมีอยู่ 3 วิธี ดังนี

3.5.1.1 สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้นําไปใช้กับการวิเคราะห์

ข้อมูลเกียวกับ สถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม

3.5.1.2 การวิเคราะห์เนื อหา (Content Analysis) ได้นําไปใช้กับการสังเคราะห์

ข้อมูลทีเป็นองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการและการสร้างรูปแบบการ จัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ เพือใช้ในการตอบวัตถุประสงค์ ข้อที 2.2.1 และ 2.2.2 ของงานวิจัย

3.5.1.3 สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) ใช้การทดสอบความแตกต่างระหว่าง ค่าเฉลียทีกลุ่มตัวอย่างสัมพันธ์กัน (t-test dependent samples) โดยนําไปใช้กับการวิเคราะห์

ข้อมูลผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิดทั งก่อนและหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้เชิง บูรณาการ เพือใช้ในการตอบวัตถุประสงค์ ข้อที 2.2.3 ของงานวิจัย

เกณฑ์การแปลความหมายเพือจัดระดับคะแนนเฉลียค่าของทักษะการคิด จึงกําหนดเป็น ช่วงคะแนนดังต่อไปนี

คะแนนเฉลีย 1.00 – 4.99 แปลความว่า มีทักษะการคิดน้อย คะแนนเฉลีย 5.00 – 9.99 แปลความว่า มีทักษะการคิดปานกลาง คะแนนเฉลีย 10.00 – 14.99 แปลความว่า มีทักษะการคิดมาก

คะแนนเฉลีย 15.00 – 20.00 แปลความว่า มีทักษะการคิดมากทีสุด 3.5.2 การสรุปผล

ผู้วิจัยได้กําหนดวิธีการสรุปผล ในรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการมีผลที

แตกต่าง ต่อทักษะการคิด