• Tidak ada hasil yang ditemukan

ทั งก่อนและหลัง นั นผู้วิจัยได้นําไปบันทึกไว้ที แบบบันทึกผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิดทัง ก่อนและหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ เมือเสร็จสิ นกระบวนการแล้ว ผู้วิจัยก็ทําการ วิเคราะห์แบบสอบถามเกียวกับสถานภาพส่วนบุคคล โดยในส่วนของข้อคําถามทีมีลักษณะเป็นแบบ ตรวจสอบรายการ (Check-List) จากนั นผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยข้อคําถามทีเกียวกับสถานภาพ ส่วนบุคคล ใช้วิธีการหาค่าความถี (Frequency) แล้วสรุปออกมาเป็นค่าร้อยละ (Percentage) สําหรับการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิด ใช้วิธีหาค่าเฉลีย (Mean : X) , ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) และ ค่าสถิติ T-test แบบ dependent

5.1 สรุปและอภิปรายผลการวิจัย

การนําเสนอสรุปผลการวิจัยนั น ได้กําหนดกลุ่มตัวอย่างทีเป็นนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ธุรกิจ ส่วนใหญ่ได้แก่ เพศหญิง มีอายุ 20-22 ปี และ มีเกรดเฉลียอยู่ระหว่าง 2.00-2.50 ซึง ผู้วิจัย ขอนําเสนอเป็นภาพรวม และ ข้อสรุปผลการวิจัยทีเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยทีตั งไว้

ตามลําดับดังนี

5.1.1 องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ทีทําการศึกษา คือรูปแบบ เชือมโยง (Connected Model) ซึงพบว่า มีลักษณะการบูรณาการ ภายในวิชาของตนเอง โดยเน้นที

การเชือมโยงสาระการเรียนรู้ ภายในวิชาเดียวกัน ทําให้ผู้เรียนเกิดการรวบรวมความคิด และสามารถ สังเคราะห์สาระการเรียนรู้กับรายวิชา

5.1.2 รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ทีสร้างขึ นคือ นําเอาแผนการจัดการเรียนรู้

(ตามแบบเอกสาร มคอ. 3) มาประยุกต์ใช้ร่วมกับ รูปแบบเชือมโยง (Connected Model) ซึงเป็น รูปแบบหนึง ในรูปแบบของหลักสูตรการบูรณาการ โดยกําหนดในแผนการสอนและประเมินผล (ตาม แบบเอกสาร มคอ.3 หมวดที 5)

5.1.3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิดทั งก่อนและหลังการใช้

แผนการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการแล้ว พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01 ซึง สามารถอภิปรายได้ว่า กําหนดรูปแบบของหลักสูตรบูรณาการและนําไปประยุกต์การใช้แผนการ จัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการนั นมีผลต่อการพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน

5.2 ข้อเสนอแนะ

ผู้วิจัยขอเสนอแนะแนวทางทีสําคัญดังต่อไปนี

5.2.1 ข้อเสนอแนะทัวไป

ผู้สอนสามารถกําหนดรูปแบบของผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิดให้เป็น ทักษะการคิดด้านอืนได้เช่น การคิดสร้างสรรค์ ,การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ได้ซึงจะช่วยให้เกิดความ เหมาะสมกับการเรียนรู้ของนักศึกษา

5.2.2 ข้อเสนอแนะสําหรับการวิจัยในครั งต่อไป

สามารถนํารูปแบบอืนๆ ใน 10 รูปแบบของหลักสูตรการบูรณาการ ทีผู้ทําวิจัยเห็นว่า น่าสนใจ โดยเลือกมา 2 รูปแบบ มาทําการทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง และกลุ่มควบคุม เพือ เปรียบเทียบ ผลของการเรียนรู้ ซึงจะทําให้ทราบว่ารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการแบบไหนให้

ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนทีดีกว่า