• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการเพื่อเสริมทักษะการคิด สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการเพื่อเสริมทักษะการคิด สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา"

Copied!
70
0
0

Teks penuh

(1)

เรือง

ผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการเพือเสริมทักษะการคิด สําหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

โดย

นายพยนต์ธร สําเร็จกิจเจริญ

ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีงบประมาณ 2553

(2)

บทคัดย่อ

ชือรายงานการวิจัย : ผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการเพือเสริมทักษะการคิด สําหรับ นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา

ชือผู้วิจัย : นายพยนต์ธร สําเร็จกิจเจริญ ปีทีทําการวิจัย : 2553

---

การวิจัยเรือง ผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการเพือเสริมทักษะการคิด สําหรับ นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มี

วัตถุประสงค์เพือ เพือศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ , สร้างรูปแบบ การจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิดทั งก่อนและ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

กลุ่มประชากรทีใช้ศึกษาครั งนีคือ นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการ จัดการ จํานวน 60 คน ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม แบบทดสอบและสถิติทีใช้

วิเคราะห์คือ สถิติพรรณา ค่าเฉลีย การทดสอบแบบที และ ค่าเบียงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า

1.นักศึกษาส่วนมากเป็น เพศหญิง มีอายุ 20-22 ปี และ มีเกรดเฉลียอยู่ระหว่าง 2.00-2.50 2.องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ทีทําการศึกษา คือรูปแบบเชือมโยง และแผนการจัดการเรียนรู้

3.รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ทีสร้างขึ นคือ นําเอาแผนการจัดการเรียนรู้ มา ประยุกต์ใช้ร่วมกับ รูปแบบเชือมโยง ซึงเป็นรูปแบบหนึง ในรูปแบบของหลักสูตรการบูรณาการ โดย กําหนดในแผนการสอนและประเมินผล

4.การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิดทั งก่อนและหลังการใช้แผนการ จัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการแล้ว พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01

(3)

ข้อเสนอแนะ

1.ผู้สอนสามารถกําหนดรูปแบบของผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิดให้เป็นทักษะ การคิดด้านอืนได้เช่น การคิดสร้างสรรค์ ,การคิดอย่างมีวิจารณญาณ

2.สามารถนํารูปแบบอืนๆ ในรูปแบบของหลักสูตรการบูรณาการ ทีเห็นว่าน่าสนใจ โดยเลือก มา 2 รูปแบบ มาทําการทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง และกลุ่มควบคุม เพือเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ

ทางการเรียน

(4)

กิตติกรรมประกาศ

รายงานการวิจัยเรืองผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการเพือเสริมทักษะ การคิด สําหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน สุนันทาสําเร็จได้ เนืองจากบุคคลหลายท่านได้กรุณาช่วยเหลือให้ข้อมูลข้อเสนอแนะ คําปรึกษาแนะนํา ความคิดเห็น และกําลังใจ

ผู้เขียนขอกราบขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.กฤษดา กรุดทอง และ อาจารย์

ดร.สมภูมิ แสวงกุล ทีได้ให้คําชี แนะและตรวจสอบรายงานการวิจัย ให้สําเร็จได้ตามวัตถุประสงค์

ขอขอบคุณอาจารย์ทุกท่าน ของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ ทีให้คําแนะนําและตรวจสอบแบบทดสอบ อย่างดีด้วยอัธยาศัยไมตรีทีดี

ขอบคุณนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา ทีได้ให้ความร่วมมือตอบแบบทดสอบ แบบสอบถาม ซึงเป็นส่วนหนึงทีทําให้

รายงานการวิจัยของผู้วิจัยสําเร็จลุล่วง

ท้ายสุดนี ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ทีได้ช่วยส่งเสริมสนับสนุนกระตุ้นเตือน และเป็นกําลังใจตลอดมาให้ผู้เขียนจัดทํารายงานการวิจัย

พยนต์ธร สําเร็จกิจเจริญ กันยายน 2553

(5)

คํานํา

การจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ถือว่าเป็นสิงสําคัญสําหรับผู้สอนทีจะต้องพัฒนารูปแบบ การเรียนการสอนให้เข้ากับตัวของผู้เรียน เมือไม่สามารถปรับตัวได้ ก็จะเกิดผลทีไม่ดีต่อตัวผู้เรียน เอง อันได้แก่ ขาดทักษะทางการเรียนรู้ ,ขาดความสามารถทางความคิด , ทําให้ผลการเรียนไม่ดี

อีกทั งยังเป็นผลเสียสําหรับผู้สอนด้วยเช่นกัน เพราะผู้สอนเองจะต้องถูกประเมินผลการสอนจาก รายวิชาทีรับผิดชอบ และเมือมีการตรวจประกันคุณภาพ ก็ส่งผลเสียกับคุณภาพทางวิชาการของ ผู้สอน รวมถึงคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาทีผู้สอนสังกัดอยู่

จากเหตุผลดังกล่าว งานวิจัยนี จึงทําการศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้

เชิงบูรณาการเพือทําให้ทราบถึง สิงทีต้องไปเสริมในแผนการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ของ นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และจัดสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณการ เพือทีจะนําไปใช้ในการเรียนการสอน สุดท้ายจึง ทําการวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรียน เพือทีจะทําให้ทราบถึงทักษะทางความคิดของผู้เรียน

ผู้วิจัย

(6)

สารบัญ

หน้า

บทคัดย่อ (1)

ABSTRACT (3)

กิตติกรรมประกาศ (5)

คํานํา (6)

สารบัญ (7)

สารบัญตาราง (9)

สารบัญภาพ (10)

บทที1 บทนํา 1

1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา 1

1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย 2

1.3 ขอบเขตการวิจัย 2

1.4 กรอบแนวคิดทีใช้ในการวิจัย 3

1.5 คําจํากัดความทีใช้ในการวิจัย 3

1.6 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ 4

บทที2 หลักการ แนวคิด ทฤษฏี และผลงานวิจัยทีเกียวข้อง 5 2.1 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ 5 2.2 ทฤษฏีลําดับขั นการเรียนรู้ของ เบนจามิน บลูม (Benjamin Bloom) 8

2.3 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 17 2.4 รูปแบบการบูรณาการหลักสูตร (Models of Integrated

Curriculum)

18

2.5 แบบ มคอ. 3 21

2.6 ผลงานวิจัยทีเกียวข้อง 22

(7)

หน้า

บทที3 วิธีดําเนินการวิจัย 23

3.1 ขั นตอนในการดําเนินการวิจัย 23

3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 24

3.3 เครืองมือทีใช้ในการวิจัย 25

3.4 การพัฒนา/ หาคุณภาพของเครืองมือเก็บรวบรวมข้อมูล 25

3.5 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล 26

บทที 4 ผลการวิจัย 27

4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกียวกับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบ แบบสอบถาม

27 4.2 ผลการศึกษาข้อมูลเกียวกับองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการ

เรียนรู้เชิงบูรณาการ

31 4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกียวกับการสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้

เชิงบูรณาการ

32 4.4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิด

ทั งก่อนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

33

บทที 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 35

5.1 สรุปและอภิปรายผลการวิจัย 36

5.2 ข้อเสนอแนะ 37

บรรณานุกรม 38

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก 39

ภาคผนวก ข 41

ภาคผนวก ค 44

ประวัติผู้ทํารายงานการวิจัย 55

(8)

สารบัญตาราง

ตารางที หน้า

4.1 แสดงจํานวนและค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบ แบบสอบถามในด้านเพศ

28 4.2 แสดงจํานวนและค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบ

แบบสอบถามในด้านอายุ

29 4.3 แสดงจํานวนและค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบ

แบบสอบถามในด้านเกรดเฉลีย

30 4.4 แสดงค่าเฉลียและค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐานการเปรียบเทียบ

ผลสัมฤทธิทางการเรียนด้านทักษะการคิดทั งก่อนและหลังการใช้รูป แบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

33

(9)

สารบัญภาพ

ภาพที หน้า

1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย 3

2.1 ลําดับขั นการเรียนรู้ 9

4.1 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามใน ด้านเพศ

28 4.2 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามใน

ด้านอายุ

29 4.3 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามใน

ด้านเกรดเฉลีย

30 4.4 แสดงรูปแบบของหลักสูตรบูรณาการ (รูปแบบเชือมโยง) ของรายวิชา

ระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจ

31

4.5 แสดง รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ 32

4.6 แสดงการจัดอันดับ ค่าเฉลียและค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐานของ ผลสัมฤทธิทางการเรียนด้านทักษะการคิดทั งก่อนและหลังการใช้รูปแบบ การจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

34

(10)

บทนํา

1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา

การพัฒนาคนท่ามกลางความเปลียนแปลงของสังคมแห่งการเรียนรู้นั น จักต้องมีรูปแบบ การศึกษาทีให้ความสําคัญกับการคิดวิเคราะห์ แยกแยะ และผสมผสานอย่างมีเหตุผล ซึงการคิด ในรูปแบบนีจะช่วยให้ผู้คิดสามารถเข้าใจ และแยกแยะสาเหตุของปัญหาได้อย่างชัดเจน ทําให้

สามารถเชือมโยงกับองค์ความรู้ มาใช้ประกอบการตัดสินใจเพือแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุนี จึงมีความจําเป็นทีจะต้องสร้างทักษะการคิดทีถูกต้องให้กับคนในสังคมมากยิงขึ น

จากสภาพปัจจุบันของการเรียนการสอน เพือพัฒนาทักษะการคิดในรูปแบบต่างๆนั น ยัง ไม่มีประสิทธิภาพเท่าทีควร เพราะยังเน้นการเรียนการสอนในลักษณะการท่องจํา ทําให้พอเข้าใจ มากกว่าการฝึกคิดทีเป็นประโยชน์ ทําให้ผู้เรียนไม่สามารถแก้ไขปัญหาทีเป็นเหตุการณ์จริงซึงมี

ความซับซ้อนได้ เช่นเดียวกับนักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ทียังขาดทักษะการคิด ดังนั น การพัฒนาทักษะการคิดจึง จําเป็นต้องมีรูปแบบการจัดการเรียนรู้อย่างมีแบบแผน และมีแนวทางการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา อย่างมีหลักการและกระบวนการทีเหมาะสม เข้ามาสนับสนุน

รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ เป็นการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึงทีมีการ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิด เพือทีจะนําไปแก้ไขปัญหาในการเรียน การทํางาน และ การใช้ชีวิตประจําวัน

ด้วยเหตุนี จึงทําให้ผู้วิจัยสนใจ และต้องการศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการ เรียนรู้เชิงบูรณาการแล้วทําการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการ เพือเป็นทางเลือกหนึง ใน การจัดการเรียนการสอนด้านการพัฒนานักศึกษาเกียวกับทักษะการคิด

(11)

1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย

1.2.1 วัตถุประสงค์ทั วไป

การพัฒนาและสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ 1.2.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ

1.2.2.1 เพือศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ 1.2.2.2 เพือสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

1.2.2.3 เพือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิดทั งก่อนและหลังการใช้

รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

1.3 ขอบเขตการวิจัย

1.3.1 ประชากร

นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน สุนันทา ชั นปีที 4 จํานวน 60 คน ซึงกําลังเรียนในปีการศึกษาที 1/2553 เนืองจาก เป็นกลุ่ม นักศึกษา ทีผู้วิจัยได้ทําการสอนในรายวิชาระบบสารสนเทศเพือสนับสนุนการตัดสินใจ ซึงเป็น รายวิชาทีใช้ในการทําวิจัยเชิงทดลอง

1.3.2 ตัวแปรทีศึกษา

ตัวแปรต้น คือ รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิด

(12)

1.4 กรอบแนวคิดทีใช้ในการวิจัย

ภาพที 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

1.5 คําจํากัดความทีใช้ในการวิจัย

1.5.1 การจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ หมายถึง การจัดการเรียนรู้ โดยการเชือมโยงเนื อหา ความรู้ทีเกียวข้องจากศาสตร์ต่างๆ ของรายวิชาเดียวกัน เพือให้เกิดทักษะการคิดแก่นักศึกษา

1.5.2 ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจ และนําสิงทีเข้าใจมาประยุกต์ใช้

กับเหตุการณ์ทีเกิดขึ น ด้วยการสังเกต การจําแนกแยกแยะ การสังเคราะห์ และการประเมินผล สืบค้นและสังเคราะห์ข้อมูลทีมาจากเอกสาร

และงานวิจัยทีเกียวข้อง

สร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ทีสร้างขึ นตามแบบแผนการทดลอง

ประเมินผลรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณา การ

(13)

1.6 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ

1.6.1 ทําให้ได้องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

1.6.2 ทําให้เกิดรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ โดยผู้ใดทีสนใจ สามารถนําไปใช้

ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ

1.6.3 ทําให้ได้ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนด้านทักษะการคิดทั งก่อนและหลังการใช้รูปแบบ การจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ

(14)

หลักการ แนวคิด ทฤษฏี และผลงานวิจัยทีเกียวข้อง

ในงานวิจัย นี ได้อาศัยหลักการ แนวคิด ทฤษฏี และผลงานวิจัยทีเกียวข้องกับ การจัดการ เรียนรู้เชิงบูรณาการ โดยเฉพาะอย่างยิงในส่วนของ หลักการ แนวคิด ทฤษฏี นั นได้แก่ ทฤษฎี

พัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ , ทฤษฏีลําดับขั นการเรียนรู้ของ เบนจามิน บลูม (Benjamin Bloom) , พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 , รูปแบบการบูรณาการหลักสูตร (Models of Integrated Curriculum) และ แบบ มคอ. ๓ รายละเอียดของรายวิชา ดังมี

รายละเอียดต่อไปนี

2.1 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์

เพียเจต์ (Piaget) ได้ศึกษาเกียวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั นตอนหรือ กระบวนการอย่างไร ทฤษฎีของเพียเจต์ตั งอยู่บนรากฐานของทั งองค์ประกอบทีเป็นพันธุกรรม และ สิงแวดล้อม เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึงจะมี

พัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลําดับขั น พัฒนาการเป็นสิงทีเป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรทีจะเร่ง เด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั นหนึงไปสู่อีกขั นหนึง เพราะจะทําให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัด ประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงทีเด็กกําลังจะพัฒนาไปสู่ขันทีสูงกว่า สามารถช่วย ให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสําคัญของการเข้าใจธรรมชาติและ พัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของ เด็กสามารถอธิบายได้โดยลําดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาทีคงที แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์

ของเด็กกับสิงแวดล้อม

(15)

ทฤษฎีการเรียนรู้

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลําดับขั น ของเพียเจต์ มีสาระสรุปได้ดังนี (Lall and Lall, 1983:45-54)

1.1 ขั นประสาทรับรู้และการเคลือนไหว (Sensori-Motor Stage) ขันนี เริมตั งแต่

แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี ขึ นอยู่กับการเคลือนไหวเป็นส่วนใหญ่ เช่น การ ไขว่คว้า การเคลือนไหว การมอง การดู ในวัยนี เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามี

สติปัญญาด้วยการกระทํา เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคําพูด เด็กจะต้องมีโอกาสทีจะปะทะกับสิงแวดล้อมด้วยตนเอง ซึงถือว่าเป็นสิงจําเป็นสําหรับ พัฒนาการด้านสติปัญญาและความคิดในขั นนี มีความคิดความเข้าใจของเด็กจะก้าวหน้าอย่าง รวดเร็ว เช่น สามารถประสานงานระหว่างกล้ามเนื อมือ และสายตา เด็กในวัยนี มักจะทําอะไรซํ าบ่อยๆ เป็นการเลียนแบบ พยายามแก้ปัญหาแบบลองผิดลองถูก เมือสิ นสุดระยะนี เด็กจะมีการแสดงออก ของพฤติกรรมอย่างมีจุดมุ่งหมายและสามารถแก้ปัญหาโดยการเปลียนวิธีการต่าง ๆ เพือให้ได้สิงที

ต้องการแต่กิจกรรมการคิดของเด็กวัยนี ส่วนใหญ่ยังคงอยู่เฉพาะสิงทีสามารถสัมผัสได้เท่านั น 1.2 ขั นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั นนี เริมตั งแต่อายุ 2-7 ปี

แบ่งออกเป็นขั นย่อยอีก 2 ขั น คือ

1) ขั นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เป็นขั น พัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็นช่วงทีเด็กเริมมีเหตุผลเบื องต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์

ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกียวโยงซึงกันและกัน แต่เหตุผลของเด็ก วัยนี ยังมีขอบเขตจํากัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถือความคิดตนเองเป็นใหญ่

และมองไม่เห็นเหตุผลของผู้อืน ความคิดและเหตุผลของเด็กวัยนี จึงไม่ค่อยถูกต้องตามความเป็น จริงนัก นอกจากนี ความเข้าใจต่อสิงต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื องต้น เช่น เข้าใจว่าเด็กหญิง 2 คน ชือเหมือนกัน จะมีทุกอย่างเหมือนกันหมด แสดงว่าความคิดรวบยอดของเด็กวัยนี ยังไม่พัฒนา เต็มที แต่พัฒนาการทางภาษาของเด็กเจริญรวดเร็วมาก

2) ขั นการคิดแบบญาณหยังรู้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล (Intuitive Thought) เป็นขั นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั นนี เด็กจะเกิดความคิดรวบยอด เกียวกับสิงต่างๆ รวมตัวดีขึ น รู้จักแยกประเภทและแยกชิ นส่วนของวัตถุ เข้าใจความหมายของ จํานวนเลข เริมมีพัฒนาการเกียวกับการอนุรักษ์ แต่ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปัญหาเฉพาะ หน้าได้โดยไม่คิดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนําความรู้ในสิงหนึงไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอืนและ

(16)

สามารถนําเหตุผลทัวๆ ไปมาสรุปแก้ปัญหา โดยไม่วิเคราะห์อย่างถีถ้วนเสียก่อนการคิดหาเหตุผล ของเด็กยังขึ นอยู่กับสิงทีตนรับรู้ หรือสัมผัสจากภายนอก

1.3 ขั นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั นนี จะเริม จากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี สามารถสร้างกฎเกณฑ์

และตังเกณฑ์ในการแบ่งสิงแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ เด็กวัยนี สามารถทีจะเข้าใจเหตุผล รู้จัก การแก้ปัญหาสิงต่างๆ ทีเป็นรูปธรรมได้ สามารถทีจะเข้าใจเกียวกับเรืองความคงตัวของสิงต่างๆ โดยทีเด็กเข้าใจว่าของแข็งหรือของเหลวจํานวนหนึงแม้ว่าจะเปลียนรูปร่างไปก็ยังมีนํ าหนัก หรือ ปริมาตรเท่าเดิม สามารถทีจะเข้าใจความสัมพันธ์ของส่วนย่อย ส่วนรวม ลักษณะเด่นของเด็กวัย นี คือ ความสามารถในการคิดย้อนกลับ นอกจากนั นความสามารถในการจําของเด็กในช่วงนี มี

ประสิทธิภาพขึ น สามารถจัดกลุ่มหรือจัดการได้อย่างสมบูรณ์ สามารถสนทนากับบุคคลอืนและ เข้าใจความคิดของผู้อืนได้ดี

1.4 ขั นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) นี จะเริมจาก อายุ 11-15 ปี ในขั นนี พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี เป็นขั นสุดยอด คือเด็ก ในวัยนี จะเริมคิดแบบผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กจะสิ นสุดลง เด็กจะสามารถทีจะคิดหาเหตุผล นอกเหนือไปจากข้อมูลทีมีอยู่ สามารถทีจะคิดแบบนักวิทยาศาสตร์ สามารถทีจะตั งสมมุติฐานและ ทฤษฎี และเห็นว่าความเป็นจริงทีเห็นด้วยการรับรู้ทีสําคัญเท่ากับความคิดกับสิงทีอาจจะเป็นไป ได้ เด็กวัยนี มีความคิดนอกเหนือไปกว่าสิงปัจจุบัน สนใจทีจะสร้างทฤษฎีเกียวกับทุกสิงทุกอย่าง และมีความพอใจทีจะคิดพิจารณาเกียวกับสิงทีไม่มีตัวตน หรือสิงทีเป็นนามธรรมพัฒนาการ ทางการรู้คิดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปีแรกของชีวิต ซึงเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็นประสบการณ์ สําคัญที

เด็กควรได้รับการส่งเสริม มี 6 ขั น ได้แก่

1) ขั นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences) เด็กเริมรับรู้

ในความแตกต่างของสิงของทีมองเห็น

2) ขั นรู้สิงตรงกันข้าม (Opposition) ขั นนี เด็กรู้ว่าของต่างๆ มี

ลักษณะตรงกันข้ามเป็น 2 ด้าน เช่น มี-ไม่มี หรือ เล็ก-ใหญ่

3) ขั นรู้หลายระดับ (Discrete Degree) เด็กเริมรู้จักคิดสิงทีเกียวกับ ลักษณะทีอยู่ตรงกลางระหว่างปลายสุดสองปลาย เช่น ปานกลาง น้อย

4) ขั นความเปลียนแปลงต่อเนือง (Variation) เด็กสามารถเข้าใจ เกียวกับการเปลียนแปลงของสิงต่างๆ เช่น บอกถึงความเจริญเติบโตของต้นไม้

(17)

5) ขั นรู้ผลของการกระทํา (Function) ในขั นนี เด็กจะเข้าใจถึง ความสัมพันธ์ของการเปลียนแปลง

6) ขั นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact Compensation) เด็กจะ รู้ว่าการกระทําให้ของสิงหนึงเปลียนแปลงย่อมมีผลต่ออีกสิงหนึงอย่างทัดเทียมกัน

2.2 ทฤษฏีลําดับขั นการเรียนรู้ของ เบนจามิน บลูม (Benjamin Bloom)

ในการจัดการเรียนการสอนต้องพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้าน พฤติกรรมการเรียนรู้ทีสามารถตรวจสอบผลได้ ดังนั นผู้สอนจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกียวกับ พฤติกรรมการเรียนรู้ และความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียนรู้และการวัดผลประเมินผล ซึง พฤติกรรมการเรียนรู้ทีเป็นทีนิยมของนักการศึกษาคือ พฤติกรรมการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom และคณะ ทีใช้หลักจําแนกอันดับ (Taxonomy) โดยแยกพฤติกรรมการเรียนรู้ออกได้เป็น 3 ด้าน คือ

1. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) 2. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective domain)

3. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain) ในทีนี จะกล่าวถึงเฉพาะพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยดังนี

พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย หมายถึง สมรรถภาพทางสติปัญญาหรือทางสมองของผู้เรียน ในการเรียนรู้สิงต่าง ๆ ทีผู้เรียนจะต้องอาศัยความสามารถทางสมองเป็นทีตั งของการคิดในระดับ ต่างๆ รวมทั งจดจํา เช่น การเรียนวิชาเลข การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ การทําความเข้าใจใน การอ่าน การเขียนเรียงความ การคิดประดิษฐ์สิงใหม่ ๆ เป็นต้น

เบนจามิน บลูม (Benjamin Bloom) และคณะ ได้เสนอแนวคิดเกียวกับการรับรู้หรือพุทธิ

พิสัย (cognitive domain) ของคนในการรับรู้ สิงต่าง ๆเป็น 6 ระดับ (Benjamin Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives,1956 ) ซึงเรียงลําดับการเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้จาก ระดับตําไปสู่ระดับทีสูงขึ นไป โดยบลูมและคณะ ได้แจกแจงพฤติกรรมแต่ละระดับไว้ดังนี

1. ความรู้ความจํา (Knowledge) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 3. การนําไปใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis)

(18)

5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมินค่า (Evaluation)

เป็นทีน่าสังเกตว่าพฤติกรรมทางด้านพุทธิพิสัยของบลูมและคณะ แยกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนความจําและส่วนความคิด

ความคิด

ภาพที 2.1 ลําดับขันการเรียนรู้

ในระดับความรู้นั นเป็นระดับการเรียนรู้ทียังไม่ได้ใช้ความคิด แต่เป็นพื นฐานทีได้รับความรู้

แล้วเกิดการจดจํา จึงถือว่าความรู้เป็นพื นฐานเพือให้เกิดทักษะการคิด ซึงเริมในระดับง่ายๆจาก ความเข้าใจ เมือผู้เรียนมีความรู้ และความเข้าใจในสิงใดสิงหนึงแล้ว สามารถนําสิงทีเรียนรู้ไป ประยุกต์ใช้ เมือมีการฝึกฝน ต่อมา จะพัฒนาการความคิดในระดับสูงคือ การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์ และการประเมินค่า

ดังนั นเพือให้เกิดความเข้าใจพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย รูปแบบ Benjamin Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives จึงควรศึกษาลําดับขั นการเรียนรู้แต่ละขั นดังนี

1. ความรู้ (Knowledge) หมายถึง การเรียนรู้ทีเน้นถึงการจําและการระลึกได้ถึงความคิด วัตถุ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึงเป็นความจําทีเริมจากสิงง่าย ๆ ทีเป็นอิสระแก่กัน ไปจนถึง ความจําในสิงทียุ่งยากซับซ้อนและมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน

1. ความรู้ ความจํา (Knowledge) 2. ความรู้ เข้าใจ (Comprehension)

3. การนําไปใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis)

5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมิน (Evaluation)

พืนฐาน

(19)

เบนจามิน บลูม (Benjamin S. Bloom อ้างถึงในอักษร สวัสดี 2542, 26-28) ได้ให้

ความหมายของ ความรู้ ว่าหมายถึง เรืองทีเกียวกับการระลึกถึงสิงเฉพาะ วิธีการและกระบวนการ ต่าง ๆ รวมถึงแบบกระสวนของโครงการวัตถุประสงค์ในด้านความรู้ โดยเน้นในเรืองของ กระบวนการทางจิตวิทยาของความจํา อันเป็นกระบวนการทีเชือมโยงเกียวกับการจัดระเบียบ

ตามทีกล่าวไว้ในเอกสารหลักการวัดและประเมินผลทางการศึกษา ของกรมวิชาการ กล่าว ว่า ความรู้ – ความจํา (Knowledge) หมายถึง ความสามารถทางสมองในการทรงไว้ หรือรักษาไว้

ซึงเรืองราวต่าง ๆ ทีบุคคลได้รับรู้ไว้ในสมองได้อย่างถูกต้องแม่นยํา จําแนกออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1.1 ความรู้ในเรืองเฉพาะ (knowledge of specifics) เป็นสมรรถภาพทางสมอง ขั นตําสุดทีจะเป็นพื นฐานให้เกิดสมรรถภาพสมองขั นสูงทีซับซ้อน และเป็นนามธรรมต่อไป จําแนก เป็น 2 ข้อ คือ

1.1.1 ความรู้เกียวกับศัพท์และนิยาม (knowledge of terminology) เป็น ความสามารถในการบอกความหมายของคําและสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น ให้คํานิยามศัพท์ทาง คณิตศาสตร์ได้ บอกความหมายของ “การวิจัย” ได้ เป็นต้น

1.1.2 ความรู้ เกียวกับกฎและความจริงบางอย่าง (knowledge of specific facts) เป็นความสามารถในการบอก กฎ สูตร ทฤษฎี และข้อเท็จจริงต่าง ๆ เช่น สามารถ บอกสูตรการหาพื นทีสามเหลียมได้ บอกสาเหตุทีไทยเสียกรุงศรีอยุธยาครั งที 2 ตามทีเรียนรู้มาได้

1.2 ความรู้ในวิธีดําเนินการ (knowledge of ways and means of dealing with specifics) เป็นความรู้ในเรืองของวิธีการ และการจัดระเบียบ จําแนกเป็น 5 ลักษณะ คือ

1.2.1 ความรู้เกียวกับระเบียบแบบแผน (knowledge of conventions) เป็นความสามารถในการบอกรูปแบบ การปฏิบัติ และแบบฟอร์มหรือระเบียบทีเหมาะสมในการ ปฏิบัติ ซึงเป็นทียอมรับของคนส่วนใหญ่ เช่น บอกลักษณะการแต่งกายของชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ได้

บอกแผนผังโคลงสีสุภาพได้ เป็นต้น

1.2.2 ความรู้เกียวกับลําดับขั นและแนวโน้ม (knowledge of trends and sequence) เป็นความสามารถในการบอกขั นตอนก่อนหลัง และทิศทางการเปลียนแปลงของสิง ต่าง ๆ เรืองราวหรือปรากฎการณ์ต่าง ๆ เช่น บอกได้ว่าการขับรถยนต์ควรทําอะไรก่อนหลัง บอก แนวโน้มของปัญหาจราจรในกรุงเทพฯ ในอนาคตได้ เป็นต้น

1.2.3 ความรู้เกียวกับการจัดประเภท (knowledge of classification and categories) เป็นความสามารถในการจําแนก จัดหมวดหมู่ ความเหมือนและความแตกต่าง ตามคุณลักษณะ คุณสมบัติ และหน้าทีของสิงต่าง ๆ เรืองราว หรือปรากฎการณ์ต่าง ๆ เช่น

(20)

สามารถจัดประเภทของอาหาร จําแนกตามคุณค่าอาหารได้ สามารถจัดหมวดหมู่ของวันตาม เหตุการณ์ได้ เป็นต้น

1.2.4 ความรู้เกียวกับเกณฑ์ (knowledge of criteria) เป็นความสามารถ ในการบอกเกณฑ์ หลักการในการตรวจสอบ และวินิจฉัยข้อเท็จจริงต่าง ๆ เช่น บอกได้ว่าอะไรเป็น เครืองชี ว่าสารนั นเป็นกรดหรือด่าง บอกได้ว่าอะไรเป็นเกณฑ์ตัดสินว่าใครผ่านหรือไม่ผ่าน เป็นต้น

1.2.5 ความรู้เกียวกับวิธีการ (knowledge of methodology) เป็น ความสามารถในการบอกเทคนิค กระบวนการ และวิธีการสืบเสาะหาความรู้ในอันทีจะให้ได้มา ของผลลัพธ์ทีต้องการ เช่น บอกวิธีการเตรียมดินปลูกผักได้ บอกวิธีการแก้สมการได้ เป็นต้น

1.3 ความรู้รวบยอดในเนื อเรือง (knowledge of the universal and abstractions in a field) เป็นความรู้เกียวกับข้อสรุปลักษณะสามัญของสิงต่าง ๆ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ

1.3.1 ความรู้เกียวกับหลักวิชาและการขยายหลักวิชา (knowledge of principles and generalizations) เป็นความรู้ในการสรุปใจความสําคัญของเรืองและนําหลักหรือ ความรู้ทีได้ไปอภิปรายเรืองอืน ๆ ทีคล้ายคลึงกันได้ เช่น บอกได้ว่าการเกิดฝนตกเกิดจากอะไร จํานวนผู้แทนราษฎรแต่ละจังหวัดพิจารณาจากสิงใด เป็นต้น

1.3.2 ความรู้เกียวกับทฤษฎีและโครงสร้าง (knowledge of theories and structures) เป็นความสามารถในการนําหลักวิชาหลาย ๆ หลักวิชา ซึงอยู่ในสกุลเดียวกันมา สัมพันธ์กันจนได้เป็นโครงสร้างของเนื อความใหม่ในเรืองเดียวกันได้ เช่น สามารถสรุปคําสอนของ พุทธศาสนาทีได้เรียนรู้มาได้ บอกคุณสมบัติร่วมของเพศชายและเพศหญิงได้ บอกคุณสมบัติร่วม ของรูปสีเหลียมจัตุรัสและรูปสีเหลียมผืนผ้าได้ เป็นต้น

ดังนั นการทีผู้เรียนสามารถระลึกข้อความรู้ต่าง ๆ ทีครูได้สอนหรือข้อความรู้ทีตนได้ศึกษา มาด้วยวิธีการต่าง ๆ ไว้ได้นั นอาจสรุปสั นๆว่าเกียวข้องกับสิงต่อไปนี

- การจําแนกแยกแยะ จัดกลุ่ม จัดหมวดหมู่

- การแยกแยะระหว่างเรืองจริงกับเรืองจินตนาการ - การแยกแยะระหว่างเรืองจริงกับความคิดเห็น - การให้คําจํากัดความและตัวอย่าง

- การสรุป ระบุใจความสําคัญ

2. ความเข้าใจ (Comprehension) เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการขยายความรู้

ความจํา ให้กว้างออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผล การแสดงพฤติกรรมเมือเผชิญกับสือ

(21)

ความหมาย และความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิงใดสิงหนึง รวมถึงความสามารถในการจับใจความสําคัญของเรือง สามารถถ่ายทอดเรืองราวเดิมออกมาเป็น ภาษาของตนเองได้โดยทียังมีความหมายเหมือนเดิม พฤติกรรมทีนักเรียนแสดงออกว่ามีความ เข้าใจมี 3 ลักษณะ คือ

2.1 การแปลความ (translation) เป็นความสามารถในการถอดความหมายจาก ภาษาหนึงหรือแบบฟอร์มหนึงไปสู่ภาษาหนึงหรืออีกแบบฟอร์มหนึง ซึงอาจแปลได้หลายลักษณะ ดังนี

2.1.1 แปลจากภาษาพูดเป็นภาษาเขียน

2.1.2 แปลจากพฤติกรรม รูปภาพ ท่าทาง เป็นข้อความหรือจากข้อความ เป็นพฤติกรรม รูปภาพ และท่าทาง

ตัวอย่างการแปลความ เช่น แปลประโยคภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย แปล ความหมายจากคําสุภาษิต แปลความหมายจากแผนภูมิ เป็นต้น

2.2 การตีความ (interpretation) เป็นความสามารถในการสรุปความ การแปล ความ มองภาพส่วนรวมมาเป็นใจความสั น ๆ อย่างได้ใจความ เช่น อ่านเรืองแล้วตีความหมาย ข้อคิดทีแฝงอยู่ในเนื อเรืองได้ อ่านเรืองแล้วค้นหาจุดมุ่งหมายของผู้แต่งได้ เป็นต้น

2.3 การขยายความ (extrapolation) เป็นความสามารถในการเสริมแต่ง หรือ ขยายแนวความคิดให้กว้างไกลไปจากข้อมูลเดิมอย่างสมเหตุสมผลซึงต้องอาศัยการแปล

ความหมาย และการตีความประกอบกันจึงจะสามาถขยายความหมายของเรืองราวนั นได้ เช่น อ่านเรืองทีแต่งยังไม่จบแล้วขยายความคิดไว้ว่าตอนจบน่าจะเป็นอย่างไร คาดคะเนเหตุการณ์นี ได้

เหตุการณ์นี ควรเกิดในสถานทีเช่นไร เป็นต้น

สรุปได้ว่าความเข้าใจ เป็นความสามารถของผู้เรียนทีจะอธิบาย ขยายความหรือเขียน เรืองราว

ใด ๆทีตนได้รับรู้ มาโดยการใช้ถ้อยคํา สํานวนภาษาของตนเอง และหมายความรวมไปถึง ความสามารถในการทีแปลความหมาย ตีความหมาย หรือขยายความหมายข้อมูล จากสํานวน สุภาษิต แผนที กราฟ หรือตารางต่าง ๆ ตัวอย่างของพฤติกรรมความเข้าใจ เช่น แปลตัวเลขใน ตารางเวลารถเข้า ออก ในสถานีรถประจําทาง การอ่านแผนที การอธิบายความหมายของ สํานวน ภาษาสุภาษิตต่าง ๆ ดังนั นความเข้าใจจะเกียวข้องกับ

- การเปรียบเทียบ และเปรียบต่าง

(22)

- การระบุโครงสร้าง - ขั นตอนและกระบวนการ

- ความสัมพันธ์เชิงรูปร่าง ลักษณะ - การเปรียบเทียบความหมายคํา - การหาใจความสําคัญ

- การระบุความสัมพันธ์

3. การนําไปใช้ (Application) เป็นความสามารถในการนําหลักวิชา ความรู้

(knowledge) ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (comprehension) ในเรืองใด ๆ ทีมีอยู่เดิม ไป แก้ไขปัญหาในสถานการณ์ใหม่ซึงอาจใกล้เคียงหรือคล้ายคลึงกับสถานการณ์ทีเคยพบเห็นมาก่อน โดยการใช้ความรู้ ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิงวิธีการกับความคิดรวบยอดมาผสมผสานกับ ความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิงนั น เช่น การนําสูตรหาพื นที

สามเหลียมไปใช้หาพื นทีสามเหลียมรูปใหม่ได้ การแก้ประโยคทีเขียนไวยากรณ์ผิดได้ ครูสอน วิธีการบวกเลขในชั นเรียนแล้ว นักเรียนสามารถคิดเงินเมือทางบ้านใช้ให้ไปซื อของทีร้านค้าได้

หรือหลังจากทีนักเรียนเรียนรู้ประโยชน์ของปุ ๋ ยประเภทต่าง ๆ แล้ว สามารถเลือกปุ ๋ ยเพือใช้ในการ ปลูกผักทีบ้านของตนได้ถูกต้อง เป็นต้น

สรุปได้ว่าความสามารถของผู้เรียนในการทีจะนําความรู้ ความเข้าใจทีตนมีไปใช้ใน สถานการณ์ทีแตกต่างไปจากเดิมได้ อาจจะเกียวกับเรือง

- การเรียงลําดับ - การคาดคะเน - ความเป็นไปได้

- การอนุมาน

- การเปลียนความหมายของคํา

4. การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถและทักษะทีสูงกว่าความเข้าใจ และการ นําไปใช้ โดยมีลักษณะเป็นการจําแนก แยกแยะองค์ประกอบของสิงใดสิงหนึงออกเป็นส่วนๆ เพือ ค้นหาว่ามีองค์ประกอบย่อยๆ อะไรบ้าง ทํามาจากอะไร ประกอบขึ นมาได้อย่างไรและมีความ เชือมโยงสัมพันธ์กันอย่างไร รวมทั งการสืบค้นความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ ว่าสามารถเข้ากันได้

หรือไม่ อันจะช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อสิงหนึงสิงใดอย่างแท้จริง การวิเคราะห์แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ

(23)

4.1 การวิเคราะห์ความสําคัญ (analysis of elements)

เป็นความสามารถในการค้นหาจุดสําคัญหรือหัวใจของเรือง ค้นหาสาเหตุ

ผลลัพธ์ และจุดมุ่งหมายสําคัญของเรืองต่าง ๆ เช่น อ่านบทความแล้วบอกได้ว่าหัวใจสําคัญของ เรืองคืออะไร ค้นหาเหตุผลของเรืองราวทีอ่านได้ เป็นต้น

4.2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ (analysis of relationship)

เป็นความสามารถในการค้นหาความเกียวข้องสัมพันธ์กัน และการพาดพิงกัน ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ว่ามีความเกียวพันกันในลักษณะใด คล้อยตามกัน หรือขัดแย้งกัน เกียวข้องกัน หรือไม่เกียวข้องกัน เช่น แยกข้อความทีไม่จําเป็นในคําถามได้ ค้นหาความสัมพันธ์

ของเบญจศีล กับเบญจธรรมเป็นรายข้อได้ เป็นต้น

4.3 วิเคราะห์หลักการ (analysis of organizational principles)

เป็นความสามารถในการค้นหาว่า การทีโครงสร้างและระบบของวัตถุ สิงของ เรืองราว และการกระทําต่าง ๆ ทีร่วมกันอยู่ในสภาพเช่นนั นได้เพราะยึดหลักการหรือแกนอะไรเป็น สําคัญ เช่น การทีกระติกนํ าร้อนสามารถเก็บความร้อนไว้ได้เพราะยึดหลักการใด การทําสงคราม ปัจจุบันใช้วิธีโฆษณาชวนเชือเพราะยึดหลักการใด เป็นต้น

เราสามารถสรุปได้ว่าการวิเคราะห์เป็นความสามารถของผู้เรียนในการทีจะใช้

สมองขบคิดหาเหตุผล หาหลักการ หาสาเหตุ หรือความเป็นไปของเรีองใดเรืองหนึง เช่น นักเรียนทีปลูกผัก สังเกตเห็นว่าผักทีตนปลูกไว้ไม่งอกงาม ถ้านักเรียนใช้ความสามารถโดยลําพัง ของตนเองค้นหา สาเหตุทีทําให้ผักของตนไม่งาม เช่น เพราะไม่รดนํ า ดินไม่ดี แดดส่องไม่ถึง อุณหภูมิไม่เหมาะ หรือปุ ๋ ยไม่เพียงพอ โดยการคิดหาสาเหตุดังกล่าวนี นักเรียนกระทําด้วยตนเอง ไม่ได้อาศัยคําบอกเล่าของครูแต่ประการใด

ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ในด้านการคิดวิเคราะห์ในเรืองต่อไปนี

- การเติมให้สมบูรณ์

- ความเกียวข้องของข้อมูล - รูปธรรมหรือนามธรรม - การกระทําทีเป็นเหตุเป็นผล - การระบุส่วนประกอบ

- รายละเอียดและเหตุการณ์ทีเป็นเหตุเป็นผลกับเนื อเรือง - การพิจารณาข้อความว่าจริงหรือไม่

Referensi

Dokumen terkait

[ข] รองศาสตราจารย์ ดร.ฉลอง ทับศรี มหาวิทยาลัยบูรพา รองศาสตราจารย์ ดร.ศิษฎ์ธวัช มันเศรษฐวิทย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา รองศาสตราจารย์ ดร.รสสุคนธ์ มกรมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

VII A SATISFICATION EVALUATION OF BUILDING SERVICE A CASE STUDY: THE CHURCH OF CHRIST IN THAILAND BUILDING นักศึกษา นางวิมาลา วุนบํารุง รหัสนักศึกษา 49801323 หลักสูตร