• Tidak ada hasil yang ditemukan

1.1 ค่าร้อยละ (Percentage) (บุญชม ศรีสะอาด, 2535 : 101)

P = 100

n f  เมื่อ P แทน ร้อยละ

f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จ านวนความถี่ทั้งหมด

1.2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean)ของคะแนน (บุญชม ศรีสะอาด, 2535 : 102)

N X  X

เมื่อ X แทน ค่าเฉลี่ย

N แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม

X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม

1.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Division) ใช้สูตรดังนี ้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2535 : 103)

1 ) (

1

2

n x x SD

n

i i

เมื่อ SD. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

X แทน ค่าของหน่วยกลุ่มตัวอย่างแต่ละหน่วย x แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนในกลุ่มตัวอย่าง

i

i x

x

1

)2

( แทน ผลรวมระหว่างผลต่างก าลังสองของ ค่าตัวเลขแต่ละตัวกับค่าเฉลี่ย n แทน จ านวนสมาชิกในกลุ่มตัวอย่าง

2. สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานของคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเรียน ใช้สูตร t-test แบบ Dependent Sample ดังนี ้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2535 : 109)

( )

) 1 (

=

∑ ∑

2 2

n D D

n t D

เมื่อ t แทน ค่าสถิติที่ใช้ในการแจกแจงแบบ t D แทน ค่าผลต่างระหว่างคู่คะแนน

N แทน จ านวนกลุ่มตัวอย่างหรือจ านวนคู่คะแนน

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิจัยครั้งนี ้เป็นการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือ แบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์(Student Team Achievement Divisions -STAD)ในรายวิชา BUS305 การวิเคราะห์เชิง ปริมาณ กลุ่ม 07 ของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 เพื่อให้การวิจัยบรรลุผลตามความมุ่งหมาย ผู้วิจัยขอเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ขั้นตอนต่อไปนี ้ ตอนที่ 1 การพัฒนาความสามารถในการเรียนวิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์(Student Teams Achievement Divisions : STAD) ผู้วิจัยแบ่งการวิเคราะห์ดังนี ้คือ

1.1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา BUS 305 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ ที่มี

การจัดการเรียนแบบ STAD ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน จ านวน 6 ครั้ง

1.2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา BUS 305 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ ของ กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ และกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบ STAD โดยการทดสอบหลังเรียน จ านวน 6 ครั้ง

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์

ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนร่วมมือ แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียนทุกคนในแต่ละข้อ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ที่เรียนวิชา BUS305 วิธีการวิเคราะห์เชิงปริมาณ กลุ่ม 07 (วันจันทร์ เวลา 11.40 น.-14.30 น.ห้อง 9-1004) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จ านวน 132 คน

ตารางที่ 2 ข้อมูลพื ้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง

ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง จ านวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน ร้อยละ ชาย 37 28.03 หญิง 95 71.97

รวม 132 100.00 ตอนที่ 1 การพัฒนาความสามารถในการเรียนวิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณของนักศึกษาคณะ บริหารธุรกิจด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์(Student Teams Achievement Divisions : STAD)

1.1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา BUS 305 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ ที่มี

การจัดการเรียนแบบ STAD ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน จ านวน 6 ครั้ง

ตารางที่ 3 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา BUS 305 การวิเคราะห์เชิง ปริมาณ ที่มีการจัดการเรียนแบบ STAD ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน จ านวน 6 ครั้ง

ครั้งที่ แหล่งข้อมูล N

X

S.D. t Sig.

1 ก่อนเรียน 132 3.52 0.545

-26.278** .000

หลังเรียน 132 5.37 0.586

2 ก่อนเรียน 132 3.81 0.616

-49.126** .000

หลังเรียน 132 7.25 0.670

3 ก่อนเรียน 132 4.74 0.661

-50.734** .000

หลังเรียน 132 8.21 0.666

4 ก่อนเรียน 132 5.11 0.583

-47.438** .000

หลังเรียน 132 8.43 0.632

5 ก่อนเรียน 132 5.58 0.699

-42.054** .000

หลังเรียน 132 8.58 0.643

6 ก่อนเรียน 132 4.37 0.953

-39.340** .000

หลังเรียน 132 7.53 1.000

** มีนัยส าคัญทางสถิติที่ .05

จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา BUS 305 การวิเคราะห์เชิง ปริมาณ ที่มีการจัดการเรียนแบบ STAD ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน จ านวน 6 ครั้ง นั้น ผู้เรียนมี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ .05 ทุกครั้ง

1.2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา BUS 305 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ ของ กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ และกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบ STAD โดยการทดสอบหลังเรียน จ านวน 6 ครั้ง

ตารางที่ 4 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา BUS 305 การวิเคราะห์เชิง ปริมาณ ของกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ และกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบ STAD โดยการทดสอบ หลังเรียน จ านวน 6 ครั้ง

ครั้งที่ แหล่งข้อมูล N

X

S.D. t Sig.

1 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ 100 5.37 0.677

-0.106 .916 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบ STAD 132 5.38 0.586

2 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ 100 6.49 0.927

-6.943** .000 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบSTAD 132 7.25 0.67

3 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ 100 7.03 1.185

-8.964** .000 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบSTAD 132 8.21 0.666

4 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ 100 7.94 0.763

-5.364** .000 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบSTAD 132 8.43 0.632

5 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ 100 8.09 0.605

-5.990** .000 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบSTAD 132 8.58 0.643

6 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ 100 7.08 0.939

-3.487** .001 กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบSTAD 132 7.53 1.000

** มีนัยส าคัญทางสถิติที่ .05

จากตารางที่ 4 แสดงให้เห็นผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา BUS 305 การ วิเคราะห์เชิงปริมาณ ของกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ และกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบ STAD โดยการทดสอบหลังเรียน จ านวน 6 ครั้ง ผลปรากฏว่าการทดสอบในครั้งที่ 2, 3, 4 , 5, 6 ค่าเฉลี่ยของ กลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบ STAD สูงกว่า ค่าเฉลี่ยของกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ อย่างมี

นัยส าคัญทางสถิติที่ .05 ส่วนในการทดสอบครั้งที่ 1 ค่าเฉลี่ยของกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบ STAD กับค่าเฉลี่ยของกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบปกติ ไม่แตกต่างกัน เนื่องจากเป็นการเรียนครั้งแรกที่ผู้สอนเริ่ม น าวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบSTAD มาใช้ นักศึกษาต้องแบ่งกลุ่มโดยผลการเรียนต่างๆกัน ท าให้

นักศึกษาที่ไม่สนิทกันมาอยู่กลุ่มเดียวกันจึงยังไม่ค่อยรู้จักกัน จึงไม่เกิดการท างานเป็นทีม ผลคะแนนเฉลี่ยที่

นักศึกษาท าได้จึงยังไม่แตกต่างจากการเรียนแบบปกติ

ตอนที่ 2 การประเมินกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์

ผู้วิจัยได้ประเมินจากการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนร่วมมือแบบ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียนทุกคนในแต่ละข้อ

ผลการตอบแบบสอบถามของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ชาย 37 คน หญิง 95 คน รวม 132 คน จ านวน 9 ข้อ การทดสอบในระดับต่างๆใช้เกณฑ์ดังนี ้

นักศึกษามีพฤติกรรมให้ความร่วมมือในระดับต ่ามาก ใช้ค่า น้อยกว่า 1.50 (1.00-1.49) นักศึกษามีพฤติกรรมให้ความร่วมมือในระดับต ่า ใช้ค่า น้อยกว่า 2.50 (1.50-2.49) นักศึกษามีพฤติกรรมให้ความร่วมมือในระดับปานกลาง ใช้ค่า เท่ากับ 3.00 (2.50-3.49) นักศึกษามีพฤติกรรมให้ความร่วมมือในระดับสูง ใช้ค่า มากกว่า 3.49 (3.50-4.49) นักศึกษามีพฤติกรรมให้ความร่วมมือในระดับสูงมาก ใช้ค่า มากกว่า 4.49 (4.50-5.00) ตารางที่ 5 แสดงความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์

เรื่อง มากที่สุด

(5)

มาก (4)

ปาน กลาง

(3)

น้อย (2)

น้อยที่สุด

(1) ค่าเฉลี่ย (x) 1.ผู้เรียนชอบท างานร่วมกับเพื่อนเมื่อ

เรียนวิชา BUS305

45 34.1%

55 41.67%

32 24.24%

- - 4.10

2.ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ดีและมีประโยชน์

เมื่อเรียน ร่วมกับผู้อื่น

34 25.74%

70 53.03%

28 21.21%

- -

4.05 3.ผู้เรียนช่วยเหลือเพื่อนขณะเรียนวิชา

BUS305

37 28.03%

58 43.94%

37 28.03%

- -

4.28 4.ผู้เรียนชอบท างานร่วมกับเพื่อนที่มี

ความรู้ความสามารถต่างกันเมื่อเรียน วิชาBUS305

43 32.58%

55 41.67%

34 25.76%

- -

4.07

5.ผู้เรียนรู้สึกว่าการเรียนแบบเป็นกลุ่ม 46 55 31 - - 4.11

ช่วยให้ผู้เรียน เรียนดีขึ้น 34.85% 41.67% 23.48 6.ผู้เรียนชอบแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ

เพื่อนในกลุ่ม

42 31.82%

56 42.42%

34 25.76%

- -

4.06 7.ผู้เรียนคิดว่าการได้รับรางวัลในการ

พยายามท างานดีกว่าการท าคะแนนสอบ ได้สูง

38 28.79%

52 42.42%

28 21.21%

- -

3.97 8.การท าให้กลุ่มประสบความส าเร็จใน

การท างานเป็นสิ่งที่ผู้เรียนต้องการมาก ที่สุด

48 36.36%

45 34.10%

36 27.27%

- -

4.15 9.ท่านอยากให้มีการจัดการเรียนแบบ

แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ในวิชาอื่นๆ

51 38.64%

45 34.10%

36 27.27%

- -

4.11

ค่าเฉลี่ย 4.10

จากตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อ นักศึกษามีความพึงพอใจกับการ เรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยรวม 4.10) เรื่องที่นักศึกษาประเมินให้ค่า ความพึงพอใจเฉลี่ยมากที่สุดได้แก่ข้อ 3.การที่นักศึกษาได้ช่วยเหลือเพื่อน (ค่าเฉลี่ย 4.28) รองลงมาได้แก่

ข้อ.8 การท าให้กลุ่มประสบความส าเร็จในการท างาน มีความพึงพอใจในระดับสูง(ค่าเฉลี่ย 4.15) และ ความพึงพอใจอันดับ 3 ได้แก่ข้อ 5 กับข้อ. 9 มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน 4.11ได้แก่ผู้เรียนรู้สึกว่าการเรียนแบบเป็น กลุ่มช่วยให้ผู้เรียน เรียนดีขึ้นและการที่นักศึกษาอยากให้มีการจัดการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ในวิชา อื่นๆ ส่วนเรื่องที่นักศึกษามีความพึงพอใจน้อยที่สุดแต่ก็เป็นความพึงพอใจในระดับสูงได้แก่ การที่ผู้เรียน คิดว่าการได้รับรางวัลในการพยายามท างานดีกว่าการท าคะแนนสอบได้สูง(ค่าเฉลี่ย3.97)

สรุปภาพรวมว่านักศึกษามีความพึงพอใจการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์อยู่ในระดับสูง ทั้ง 9 หัวข้อ ซึ่งเป็นเรื่องที่ควรส่งเสริมให้ผู้สอนมีการจัดการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ในทุกๆวิชา ให้แพร่หลายต่อไป

บทที่ 5

สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

การศึกษาวิจัยครั้งนี ้เป็นการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือ แบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์(Student Team Achievement Divisions -STAD)ในรายวิชา BUS305 การวิเคราะห์เชิง ปริมาณ ซึ่งมีขั้นตอนการศึกษาวิจัย สรุปผลดังนี ้

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณ ของนักศึกษาที่ได้รับจาก การจัดการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ว่ามีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation)ของคะแนนทดสอบลดลงและยกระดับคะแนนเฉลี่ยของห้องเรียน(Class Grade Point Average)

2. เพื่อประเมินกิจกรรมการเรียนรู้จากการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากรที่ท าการศึกษา เป็นนักศึกษาภาคปกติ ในรายวิชา BUS305 การวิเคราะห์เชิง ปริมาณ คณะบริหารธุรกิจ ที่ลงทะเบียนเรียน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จ านวน 6 ห้อง รวม 633 คน

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี ้ เป็นนักศึกษาภาคปกติ ในรายวิชา BUS305 การวิเคราะห์

เชิงปริมาณ คณะบริหารธุรกิจ ที่ลงทะเบียนเรียน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จ านวน 1 ห้อง (กลุ่ม 07) จ านวน 132 คน ผู้วิจัยได้แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 6 คน เป็นผู้เรียนเก่ง 2 คน ปานกลาง 4 คน และอ่อน 2 คน และผู้เรียนจะต้องร่วมกิจกรรมกลุ่มที่เลือกตลอดการทดลอง

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ

1. เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ คือ โครงการสอน และแผนการสอนรายวิชาBUS305 การ วิเคราะห์เชิงปริมาณ

2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย

2.1 แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้วิธีเรียนแบบ STAD 2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

2.3 แบบทดสอบย่อยเป็นแบบปรนัย ซึ่งท าการทดสอบทุกครั้งที่เสร็จสิ ้นการเรียน