• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาBUS305 การวิเคราะห์เชิงปริมาณที่ได้รับการจัดการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาBUS305 การวิเคราะห์เชิงปริมาณที่ได้รับการจัดการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์"

Copied!
87
0
0

Teks penuh

(1)

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาBUS305 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ ที่ได้รับการจัดการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์

THE STUDY ON QUANTITATIVE ANALYSIS OF STUDENT’S ACHIEVEMENT THROUGH THE STUDENT TEAM ACHIEVEMENT DIVISION (STAD)

ศุภลักษณ์ ไชยสิทธิ์

งานวิจัยนี้ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีปทุม ปีการศึกษา 2552

(2)

ผู้วิจัย : นางศุภลักษณ์ ไชยสิทธิ์

หน่วยงาน : คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปีที่จัดพิมพ์ : พ.ศ. 2554

. บทคัดย่อ

การน าการจัดการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์มาใช้กับรายวิชา BUS305

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการวิเคราะห์เชิง ปริมาณ ของนักศึกษาที่ได้รับจากการจัดการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์(STAD) ว่าท าให้มีค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน(Standard Deviation)ของคะแนนทดสอบลดลงและยกระดับคะแนนเฉลี่ยของห้องเรียน(Class Grade Point Average)ให้สูงขึ้น และ 2) เพื่อประเมินการเรียนรู้จากการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์

(STAD)โดยผู้วิจัยได้สร้างแบบทดสอบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนด้วยวิธีนี ้

ผลการศึกษาพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยพิจารณาจากคะแนนทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียน พบว่าคะแนนทดสอบหลังเรียนมีคะแนนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 รวมทั้งค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทดสอบหลังเรียนลดลง นอกจากนี ้นักศึกษามีความพึงพอใจใน การจัดการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์อยู่ในเกณฑ์สูง

การวิจัยในครั้งนี ้มีข้อเสนอแนะคือควรส่งเสริมให้ผู้สอนวิชาอื่นๆมีการจัดการเรียนแบบร่วมมือ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ให้แพร่หลายต่อไป และผู้สอนควรจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคอื่น เพื่อหาวิธี

ที่เหมาะสมกับนักศึกษาและสอดคล้องกับรายวิชา รวมทั้งผู้สอนควรให้ข้อมูลกับนักศึกษาที่เรียนเก่งกว่าว่า การให้ความช่วยเหลือผู้อื่นที่ด้อยกว่าจะเป็นผลดีกับตัวเองด้วย กล่าวคือนักศึกษาผู้นั้นจะได้มิตรภาพและ เพื่อนเพิ่มขึ้น

ค าส าคัญ : การเรียนแบบร่วมมือ

(3)

Name of Researcher : Mrs. Supalux Chaiyasit

Name of Institution : Faculty of Business Administration, Sripatum University Year of Publication : B.E. 2011

Abstract

This research was carried out to study the effect of cooperative learning for BUS305 Quantitative Analysis. The purposes of this research were 1) to study the use of Student Team Achievement Division (STAD) technique which caused to decrease standard deviation and increase the class grade point average 2) to evaluate the students‘ satisfaction toward Student Team Achievement Divisions technique.

The results of this study revealed that the knowledge of the students significantly increased at the 0.05 level after using Student Team Achievement Divisions technique and the students’ satisfaction on Student Team Achievement Divisions technique were at the high level.

This research has obviously represented that enhancing Student Team Achievement Divisions technique of students for other courses is necessary. Additionally ,exploring the appropriate integrated techniques of cooperative learning is required for particular subject . Finally instructor must tell students that help and supports among students could eventually and generate gratefully a long- lasting friendship.

Keyword : Cooperative Learning

(4)

งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี ้ ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยศรีปทุม ซึ่งผู้วิจัยขอขอบพระคุณ ดร.

รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีปทุมเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี ้ ที่ท่านได้ให้

โอกาสแก่บุคคลากรของมหาวิทยาลัย ได้ผลิตงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ขึ้น เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษา ขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย์ดร.สุมาลี สันติพลวุฒิ ที่ปรึกษางานวิจัย ที่ได้สละเวลาอันมีค่า อย่างยิ่ง ให้ค าปรึกษา แนะน าและตรวจแก้งานวิจัย จนกระทั่งงานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี ้เสร็จสมบูรณ์

ขอขอบคุณบุคลากร ส านักวิจัย มหาวิทยาลัยศรีปทุมทุกท่าน ที่ได้ให้ความช่วยเหลือในการ ประสานงาน และอ านวยความสะดวก ขอขอบคุณมาณ โอกาสนี ้

ศุภลักษณ์ ไชยสิทธิ์

ผู้วิจัย

มกราคม 2554

(5)

1 บทน า……… 1

ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา……….. 1

วัตถุประสงค์ของการจัย……… 3

ค าถามการวิจัย……….. 4

สมมุติฐานการวิจัย………. 4

ขอบเขตของการวิจัย……….. 4

นิยามศัพท์เฉพาะ……….. 5

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ……… 6

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง……… 7

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนแบบร่วมมือ (CooperativeLearning)……… 7

ความหมายของการเรียนแบบร่วมมือ……… 10

ความส าคัญของการเรียนแบบร่วมมือ……….. 11

จุดประสงค์ของการเรียนแบบวมมือ……….. 12

ประโยชน์ของการเรียนแบบวมมือ………. 12

ลักษณะและแนวทางการจัดการเรียนแบบร่วมมือ……… 12

ประโยชน์ของการเรียนแบบวมมือ………. 12

ลักษณะและแนวทางการจัดการเรียนแบบร่วมมือ……… 15

องค์ประกอบส าคัญของการเรียนแบบวมมือ……… 19

ขั้นตอนการเรียนแบบร่วมมือ………. 20

บทบาทของผู้สอน……….. 20

บทบาทของเรียน……….. 21

รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือ……… 21

ลักษณะการเรียนแบบร่วมมือประเภทการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์……… 22

โครงสร้างของการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์……….. 22

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์……….. 23

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มลสัมฤทธิ์……… 24

(6)

3 วิธีด าเนินการวิจัย... 28

ขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย... 28

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง... 28

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย... 28

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย... 29

การเก็บรวบรวมข้อมูล... 29

จัดท าและวิเคราะห์ข้อมูล... 29

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล... 31

4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล... 32

ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง... 32

ตอนที่1 การพัฒนาความสามารถในการเรียนวิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณฯ... 33

ตอนที่2 การประเมินกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์... 35

5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ... 35

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล... 37

อภิปรายผลการศึกษา... 37

ข้อเสนอแนะ... 39

6 บรรณานุกรม... 41

7 ภาคผนวก... 47

โครงการสอนวิชา การวิเคราะห์เชิงปริมาณBUS305... 48

ตารางรายละเอียดคะแนนก่อนและหลังเรียนBUS305 ด้วยวิธี STAD 6 ครั้ง... 51

ตารางรายละเอียดคะแนนหลังเรียนBUS305 ด้วยการเรียนปกติและวิธี STAD 6 ครั้ง... 56

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ 1... 61

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ 2... 62

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ 3... 65

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ 4... 67

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ 5... 68

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ 6... 70

รูปภาพการจัดห้องเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์... 72

(7)

7 แบบประเมินผลการจัดการเรียนแบบร่วมมือฯ...

ประวัติย่อผู้วิจัย...

79 80

(8)

1 เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการเรียนแบบเป็นกลุ่มกับการเรียนแบบร่วมมือ... 17 2 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง... 33 3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างคะแนนก่อนและหลังด้วย

วิธีการจัดการเรียนแบบSTAD จ านวน 6 ครั้ง... 33 4

5

ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา BUS305 ของกลุ่มที่จัดการ เรียนปกติและกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบ STAD โดยการทดสอบหลังเรียน จ านวน 6 ครั้ง...

แสดงความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนแบบ STAD...

34 35

(9)

บทที่ 1 บทน า

ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

ในปัจจุบันได้มีการน าวิชาคณิตศาสตร์มาใช้เป็นเครื่องมือในเรื่องการด าเนินงานและแก้ปัญหา ทางธุรกิจอย่างแพร่หลายประกอบด้วยตัวแบบของคงคลัง การขนส่ง การจัดระบบแถวคอย ปัญหาการ มอบหมายงาน พีชคณิตเชิงเส้น ทฤษฏีเกมส์ปัญหา การหาค่าที่เหมาะสมที่สุด ตลอดจนศึกษาถึงวิธี

วิเคราะห์ถดถอยและสหสัมพันธ์ และวิธีวิเคราะห์อนุกรมเวลา นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจควรที่จะมี

ความรู้เบื ้องต้นในเรื่องที่ได้กล่าวมา อีกทั้งคณิตศาสตร์ยังเป็นรากฐานส าคัญส าหรับศาสตร์แขนงอื่นๆ เพราะศาสตร์แขนงต่างๆเกือบทุกสาขา จ าเป็นต้องอาศัยความคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้เหตุผลในการ แสดงความคิดอย่างเป็นระเบียบชัดเจนและรัดกุม นอกจากนี ้ยังอาศัยการอ่านข้อมูลการแปลความหมาย การวิเคราะห์ และการสรุปผลของข้อมูล วิธีการดังกล่าวเป็นหลักการส าคัญทางคณิตศาสตร์ทั้งสิ ้น เพื่อ เพิ่มพูนศักยภาพในด้านนี ้ ถึงแม้ว่านักศึกษาอาจไม่ได้น าไปใช้ได้ทันทีแต่การเรียนคณิตศาสตร์ก็เป็นการที่

ผู้เรียนได้เรียนรู้ทักษะในเรื่องการคิดค านวณ ความละเอียด รอบคอบ การมีสมาธิ การคิดที่ซับซ้อน การ ท างานอย่างมีระบบ การอ่านข้อมูล การแปลความหมาย การวิเคราะห์ และการสรุปผลของข้อมูล วิธีการ ดังกล่าวเป็นหลักการส าคัญทางคณิตศาสตร์ทั้งสิ ้น ถ้านักศึกษามีทักษะเหล่านี ้สูงย่อมได้เปรียบใน การศึกษาหาความรู้เรื่องต่างๆ การปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจและสิ่งแวดล้อมในปัจุบัน การมีความละเอียดรอบคอบถือเป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับความส าเร็จในชีวิต

จากการศึกษาสภาพปัญหาเบื ้องต้นของการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดทักษะในการเรียนวิชาค านวณ ไม่สนใจในวิชาและใช้เวลา ในการท าความเข้าใจค่อนข้างมาก จากการสังเกตการณ์ของผู้ท าการวิจัยที่พบว่า คะแนนสอบกลางภาค วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณ 25 คะแนน จ านวนนักศึกษาที่ได้คะแนนต ่ากว่าค่าเฉลี่ยมีถึง 50 % ภาพรวม นักศึกษาเรียนวิชานี ้ได้เกรดออกมาเป็นลักษณะโค้งเบ้ขวา ส่วนใหญ่จะได้เกรด D D+ และ C เป็นเช่นนั้น ทุกภาคการศึกษา เหตุการณ์นี ้ผู้สอนพยายามหาวิธีการแก้ปัญหาด้วยการอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจเนื ้อหา หรือเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามถ้าไม่เข้าใจ แต่ยังไม่ประสบความส าเร็จเท่าที่ควร ผู้วิจัยจึงมองหาปัจจัย อื่นๆ ทั้งนี ้อาจจะเป็นเพราะจ านวนผู้เรียนในห้องเรียนมีจ านวนมาก เนื่องจากการเรียนวิชานี ้ที่เป็น ห้องเรียนขนาดใหญ่(160คน) บรรยากาศจึงไม่เอื ้ออ านวยต่อนักศึกษาที่เรียนอ่อนและผู้เรียนในระดับชั้น เดียวกันมีความสามารถทางคณิตศาสตร์แตกต่างกันท าให้เรียนไม่ทันกันและเกิดความเบื่อหน่าย ผู้วิจัยมี

ความต้องการให้นักศึกษาสามารถเรียนวิชานี ้เข้าใจได้เป็นจ านวนมากขึ้น ซึ่งจะเป็นเรื่องที่ดีกับตัว นักศึกษาเองเพราะวิชานี ้เป็นวิชาแกนที่นักศึกษาทุกคนต้องเรียน บางวิชานักศึกษาต้องผ่านวิชานี ้ก่อนจึง จะเรียนได้ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอน

(10)

คณิตศาสตร์และพบวิธีการสอนตณิตศาสตร์ที่คาดว่าจะแก้ปัญหาได้คือ การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ซึ่งแนวทฤษฎีการสอนนี ้เป็นวิธีที่ผู้เรียนร่วมกันเรียนเป็นกลุ่มย่อยๆ ผู้เรียนที่มี

ความสามารถมากช่วยผู้เรียนที่มีความสามารถน้อยกว่า ซึ่งตรงกับนโยบายการปฎิรูปการศึกษาในปัจจุบัน คือมุ่งพัฒนาความสามารถของผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบและสามารถ ท างานร่วมกับผู้อื่น เป็นกระบวนการพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ที่จะน าไปสู่การเรียนรู้อย่างมี

ประสิทธิภาพ(ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545:บทสรุป)

จากสภาพการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ยังไม่ประสบผลส าเร็จเท่าที่ควร เพราะผู้เรียน จ านวนมาก มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ต ่า ปัญหาที่ส าคัญอีกอย่างหนึ่งที่ท าให้ผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนของนักเรียนต ่า คือ การจัดการเรียนการสอนที่ไม่สนองตอบความแตกต่างชองผู้เรียนในด้าน ต่างๆ โดยเฉพาะในด้านทักษะความสามารถ ความเข้าใจและความสามารถในการแก้ปัญหา นอกจากนี ้ ธรรมชาติของวิชาที่เรียนก็เป็นส่วนหนึ่งที่ท าให้การสอนไม่ประสบผลส าเร็จเนื่องจากคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่

เป็นนามธรรมเนื ้อหาบางตอนยากที่จะอธิบายให้เข้าใจได้ ผู้สอนจะต้องพยายามหาความรู้เกี่ยวกับวิธีการ สอนต่างๆเพื่อปรับปรุงใช้ให้เหมาะสมกับเนื ้อหา และสภาวะแวดล้อม นิสัยระดับสติปัญญาและอายุอยู่

ในช่วงวัยรุ่น ดังนั้นการที่จะพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในช่วงนี ้ต้องอาศัยความรู้อันเกิดจากการมี

สัมพันธ์กับผู้อื่นเข้ามามีส่วนด้วยในช่วงนี ้ เพื่อนในชั้นจะมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้มากเพราะวัยนี ้เป็นวัยที่

นิยมเพื่อน ชอบอยู่เป็นกลุ่ม ดังนั้นพฤติกรรมของกลุ่มเพื่อน จึงมีบทบาทต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นอย่างมาก

สลาวิน(Slavin, 1995: 71-128) ได้พัฒนารูปแบบการเรียนร่วมมือ ได้แก่ การเรียนแบบร่วมมือ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์(STAD) การเรียนแบบร่วมมือแบบการแข่งขันเป็นกลุ่ม(TGT) การเรียนแบบร่วมมือ แบบจิ๊กซอร์(Jigsaw ll) ซึ่ง 3 รูปแบบนี ้สามารถใช้ได้กับหลากหลายวิชาที่มีวัตถุประสงค์แน่นอนชัดเจน การ เรียนทั้ง 3 วิธี ต่างมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือการเรียนรวมกันเป็นกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายในกลุ่ม มีการรับผิดชอบร่วมกันทั้งส่วนตัวและส่วนรวม เป็นการพัฒนาทักษะ ทางสังคมและการท างานเป็นกลุ่ม มีการยอมรับความสามารถซึ่งกันและกัน เพื่อให้กลุ่มประสบ ความส าเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ (วันเพ็ญ ผลอุดม, 2543:3;อ้างอิงจากสลาวิน,1970) กล่าวว่า การเรียน แบบร่วมมือคือรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนใช้ความสามารถเฉพาะศักยภาพของตนเอง ทั้งยังร่วมมือกันแก้ปัญหาต่างๆให้บรรลุผลส าเร็จโดยสมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กัน แต่ละคนมีบทบาทส าคัญต่อความส าเร็จของกลุ่ม เมื่อประสบความส าเร็จในการท างานแล้ว จะเพิ่ม ความสามารถในการท ากิจกรรมในการเรียนรู้มากขึ้นรวมทั้งยังส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ให้สูงขึ้นอีกด้วย จากผลงานของผู้วิจัยหลายท่านที่น ารูปแบบการจัดการเรียนแบบร่วมมือมาใช้ในวิชา คณิตศาสตร์ พบว่านักเรียนที่ได้รับการสอนตามรูปแบบการจัดการเรียนแบบร่วมมือ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนด

(11)

จากเหตุดังกล่าวผู้วิจัยจึงได้น าวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบนักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียน

แบบร่วมมือมาใช้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนในกลุ่มสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ท า ให้บรรยากาศในการเรียนไม่เครียดน่าสนใจ ท าให้ผู้เรียนเกิดพัฒาทักษะในการเรียน จดจ าบทเรียนได้ง่าย ขึ้น เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของการท างานเป็นทีม

หลักการส าคัญของการเรียนแบบร่วมมือนั้น มีลักษณะดังนี ้

1.สมาชิกในกลุ่มจะมีเป้าหมายร่วมกัน มีการท างานร่วมกัน มีการแบ่งปันวัสดุอุปกรณ์ ข้อมูล ต่างๆในการท างาน ทุกคนมีบทบาทหน้าที่ และประสบความส าเร็จร่วมกัน

2.มีปฏิสัมพันธ์ที่มีลักษณ์ส่งเสริมกันและกันโดยตรง มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันและกัน และมีการอธิบายความรู้ให้เพื่อนในกลุ่มฟัง

3.สมาชิกมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ โดยมีการช่วยเหลือส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิด ความส าเร็จตามเป้าหมายกลุ่ม

4.มีการใช้ทักษะทางสังคม และทักษะทางการท างานกลุ่ม เพื่อช่วยให้งานกลุ่มประสบ ความส าเร็จ

5.สมาชิกท างานกลุ่มอย่างมีขั้นตอน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อช่วยให้การท างานกลุ่มเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ

ผู้วิจัยมีความสนใจวิธีการจัดการเรียนร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD- Student Team Achievement Division)มาใช้ในการท าวิจัยครั้งนี ้ ซึ่งเป็นการเรียนแบบร่วมมือโดยที่ผู้เรียนที่มี

ความสามารถต่างกันมาเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มย่อย โดยมีสมาชิก 4-6 คน สมาชิกภายในกลุ่มจะท างาน ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อความส าเร็จของกลุ่ม(Slavin, 1995: 5-6) เป็นการฝึกให้นักศึกษากล้า แสดงความคิดเห็น เพราะการปรึกษาในกลุ่มที่อยู่ในวัยเดียวกัน นักศึกษาน่าจะกล้าแสดงออกมากกว่าการ ปรึกษาอาจารย์ ผลพลอยได้เรื่องมนุษย์สัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงานที่ดีขึ้น ผู้เรียนจะลดการแข่งขันในการ ท างานเพื่อตนเองลงและท างานเพื่อส่วนรวมมากขึ้น สมาชิกในกลุ่มจะเป็นส่วนหนึ่งของความส าเร็จของ กลุ่ม ซึ่งท าให้เกิดความภูมิใจในตัวเอง มีความสนใจและมีสมาธิในการเรียนและมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียน เพิ่มขึ้น อันจะพัฒนาความสามารถในด้านการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ของนักศึกษาคณะบริหารธุกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

(12)

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณ ของนักศึกษาที่ได้รับจาก การจัดการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ว่ามีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation)ของคะแนนทดสอบลดลงและยกระดับคะแนนเฉลี่ยของห้องเรียน(Class Grade Point Average)ให้สูงขึ้น

2. เพื่อประเมินกิจกรรมการเรียนรู้จากการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) โดย วิคราะห์จากความพึงพอใจของนักศึกษา

ค าถามการวิจัย

1. แนวทางและวิธืการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของ นักศึกษาวิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณได้หรือไม่

สมมุติฐานการวิจัย

1. การเรียนวิชาวิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณของนักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนแบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์(STAD) มีผลท าให้ค่าเฉลี่ยของคะแนนห้องเรียนสูงขึ้นและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของห้องต ่าลงกว่าห้องเรียนปกติ

ขอบเขตของการวิจัย

1.กลุ่มเป้าหมายหรือประชากร

ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี ้เป็นนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาวิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน จ านวน 6 ห้องเรียน 2. เนื ้อหาของการวิจัย

ศึกษาถึงวิธีการจัดการเรียนแบบกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) 3. ระยะเวลา

ด าเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 (มกราคม-เมษายน 2553)โดยก าหนด ระยะเวลาที่ท าการทดลองกับนักศึกษากลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม กลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม กลุ่มละ 6คาบเท่าๆ กัน โดยใช้เวลา 1 คาบ ในการปฐมนิเทศนักศึกษา เพื่อท าความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนในครั้งนี ้ และนักศึกษา จะได้ท าความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนของการจัดกิจกรรมของกลุ่มที่มีการจัดการเรียนแบบแบ่งกลุ่ม ผลสัมฤทธิ์ (STAD) 1 คาบถัดมา ผู้ท าการวิจัยทดสอบก่อนเรียน กับกลุ่มทดลอง 4 คาบต่อมา เป็น ระยะเวลาที่ผู้วิจัยท าการทดลองสอนตามรูปแบบการจัดการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD)

(13)

4. ตัวแปร

ตัวแปรอิสระ - การเรียนแบบร่วมมือด้วยวิธีเรียนแบบ STAD ตัวแปรตาม - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

นิยามศัพท์เฉพาะ

การจัดการเรียนแบบร่วมมือ หมายถึง รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนใช้

ความสามารถตามศักยภาพของตนเองทั้งทางด้านสติปัญญาและสังคม ในการเรียนรู้และท างานร่วมกัน เป็นกลุ่มขนาดเล็ก โดยที่สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบงานของตนเองและงานของกลุ่ม มีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ท าให้ทุกคนในกลุ่มได้เรียนรู้บรรลุตามจุดประสงค์

รวมทั้งทุกคนเห็นคุณค่าในความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้วิจัยสนใจที่จะน าเอารูปแบบการจัดการเรียน แบบร่วมมือ 2 รูปแบบ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งได้แก่

1. การจัดการเรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Student Team Achievement Division หรือ STAD) และมีขั้นตอนในการจัดกิจกรรมดังนี ้

1.1 ขั้นการจัดกลุ่ม และน าเข้าสู่บทเรียน โดยผู้สอนก าหนดนักศึกษาเข้ากลุ่มๆ ละ 4 คน แบบคละความสามารถ มีนักศึกษาเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน (มีอัตราส่วน 1:2:1) ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนทราบถึงจุดประสงค์ในการเรียนรู้ โดยผู้สอนท าการทบทวนความรู้เดิมให้

นักศึกษา

1.2 ขั้นน าเสนอบทเรียนต่อทั้งชั้น ผู้สอนเสนอเนื ้อหาใหม่โดยใช้เทคนิคการสอนที่

เหมาะสมตามลักษณะเนื ้อหา จะเป็นการบรรยาย อภิปราย ใช้สื่อประกอบการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ เนื ้อหาหลักการที่ส าคัญ การกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมกันสรุป อภิปราย สนทนาร่วมกัน เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่

ชัดเจน

1.3 ขั้นการศึกษากลุ่มย่อย และฝึกทักษะ นักศึกษาแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาท าแบบ ฝึกทักษะไปพร้อมๆ กัน ผู้สอนมีบทบาทที่จะต้องกระตุ้นให้นักศึกษาทุกคนช่วยกันท ากิจกรรมกลุ่ม นักศึกษาช่วยกันอธิบายเพื่อน และร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องจากบัตรเฉลยที่แนบไว้ด้านหลังและ ร่วมกันสรุปเพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับเนื ้อหา เตรียมความพร้อมของสมาชิกในกลุ่มในการท าแบบทดสอบ ย่อย

1.4 ขั้นการประเมิน และการคิดคะแนนความก้าวหน้า โดยทดสอบความเข้าใจใน เนื ้อหาของนักศึกษาแต่ละคนในแต่ละชั่วโมง นักศึกษาจะไม่มีการช่วยเหลือกัน ผู้สอนน าคะแนนที่สอบ ของนักศึกษาแต่ละคนมาเทียบกับคะแนนฐาน เพื่อให้นักศึกษาได้แข่งขันกับตนเอง และจะปรับคะแนน ฐานใหม่ เมื่อจบหน่วยการเรียน หรือปรับตามความเหมาะสม

(14)

1.5 ขั้นการยอมรับและความส าเร็จของกลุ่ม น าคะแนนความก้าวหน้าของสมาชิกทุก คนในกลุ่มมาเฉลี่ย และเทียบกับเกณฑ์ กลุ่มจะได้รับการยอมรับและรางวัลความส าเร็จตามเกณฑ์ที่

ก าหนด

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถทางด้านสติปัญญาใน การเข้าใจ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ที่ประเมินได้จากการท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเป็นข้อสอบปรนัย 5 ตัวเลือก มีลักษณะเป็นแบบทดสอบคู่ขนาน (ใช้

ทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน) และได้ตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ โดยแบบทดสอบนั้นจะมีความ สอดคล้องกับพฤติกรรมด้านความรู้ ความคิด (Cognitive Domain)จ าแนกไว้ 4 ระดับ คือ ความรู้ ความจ า การน าไปใช้ และการวิเคราะห์

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) ศึกษาถึงการน าเครื่องมือทาง คณิตศ่าสตร์มาใช้ด าเนินการและแก้ปัญหาทางธุรกิจ ประกอบด้วย พีชคณิตเชิงเส้น ก าหนดการเชิงเส้น ตัว แบบของคงคลัง ตัวแบบการขนส่ง ปัญหาการมอบหมายงาน ทฤษฏีการตัดสินใจ การหาค่าที่เหมาะสม ที่สุด ตลอดจนการศึกษาถึงวิธีวิเคราะห์ถดถอยและสหสัมพันธ์ และวิธีวิเคราะห์อนุกรมเวลา

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. สร้างองค์ความรู้เรื่องการจัดการเรียนแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์(STAD) เพื่อให้ผู้สอน วิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณในระดับปริญญาตรีได้น าไปประยุกต์ใช้

2. นักศึกษาสามารถเข้าใจเนื ้อหาวิชามากขึ้น มีผลการเรียนดิขึ้น 3. นักศึกษารู้จักการท างานเป็นทีม

(15)

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี ้ผู้วิจัยได้รวบรวมเอกสารและงานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ เรียนแบบร่วมมือแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์(Student Team Achievement Division หรือ STAD)เพื่อน ามา ทดลองใช้ในกระบวนการเรียนการสอนนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ในรายวิชา BUS305 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ กลุ่ม 07 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning)

อาทซ์ และนิวแมน(Artzt Newman, 1990: 448-449) ได้กล่าวถึงการจัดการเรียนแบบเรียน ร่วมมือว่าเป็นแนวทางที่เกี่ยวกับการที่ผู้เรียนท าการแก้ปัญหาร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กๆซึ่งสมาชิกทุกคนในกลุ่ม จะบรรลุเป้าหมายร่วมกัน สมาชิกทุกคนต้องระลึกเสมอว่าเขาเป็นส่วนส าคัญของกลุ่ม ความส าเร็จหรือ ความล้มเหลวของกลุ่มเป็นของทุกคนในกลุ่ม สมาชิกทุกคนต้องอธิบายแนวคิดกันและช่วยเหลือกันเพื่อให้

เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ผู้สอนไม่ใช่แหล่งความรู้ที่คอยป้อนแก่ผู้เรียน แต่จะ มีบทาทในการให้ความช่วยเหลือ จัดหาและชี ้แนะแหล่งข้อมูลในการเรียนรู้ของผู้เรียน ตัวผู้เรียนเองจะเป็น แหล่งความรู้ซึ่งกันและกันในกระบวนการเรียนรู้

ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ(2540: 45) ได้ให้ความหมายของการเรียนแบบร่วมมือ ว่า เป็นวิธีการเรียนที่เน้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนของผู้ได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กๆแต่ละกลุ่ม ประกอบด้วยสมาชิกที่มีความรู้ความสามารถแตกต่างกัน แต่ละคนจะต้องมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการ เรียนรู้ รวมทั้งการเป็นก าลังใจให้แก่กัน คนที่เรียนเก่งช่วยเหลือคนที่เรียนอ่อนกว่า สมาชิกในกลุ่มไม่พียงแต่

รับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเองเท่านั้นแต่จะต้องรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของสมาชิกทุกคนในกลุ่ม ความส าเร็จของแต่ละบุคคลคือความส าเร็จของกลุ่ม

สลาวิน (Slavin, 1995) ได้อธิบายไว้ว่าวิธีการเรียนแบบร่วมมือคือ วิธีการเรียนรู้แบบกลุ่ม วิธีการ เรียนแบบร่วมมือทุกวิธีการนั้นมีแนวความคิดร่วมกันคือผู้เรียนท างานร่วมกันเพื่อเรียนรู้และผู้เรียนต้อง รับผิดชอบการเรียนรู้ของเพื่อนสมาชิกในกลุ่มในให้เรียนรู้ได้เท่าๆกับการเรียนรู้ของตนเอง หลักการของการ เรียนรู้เป็นกลุ่ม ประกอบด้วย

1. การได้รับรางวัลเป็นกลุ่ม (team reward) กลุ่มอาจได้รับรางวัลหรือใบประกาศนียบัตร (certificates) ถ้าสมาชิกในกลุ่มสามารถเรียนรู้ได้ถึงเกณฑ์ที่ก าหนดไว้

2. ความส าเร็จของกลุ่มขึ้นอยู่กับการเรียนรู้ของแต่ละคน (individual accountability) เป็นการเน้น ให้สมาชิกในกลุ่มต้องรับผิดชอบการเรียนรู้ของเพื่อนๆซึ่งท าให้เกิดการช่วยกันอธิบายให้แก่คนอื่นในกลุ่ม

(16)

3. ทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกันในการประสบความส าเร็จ (equal opportunities for success) หมายความว่า สมาชิกสามารถช่วยกลุ่มได้โดยการพัฒนาการเรียนของตนเองให้ดีขึ้นกว่าเดิม เป็นการเน้น ให้เห็นว่าไม่ว่าผู้เรียนจะเก่ง อ่อน หรือปานกลาง ผู้เรียนทุกคนก็มีโอกาสเท่า ๆ กันในการที่จะท าให้ดีที่สุด ประเภทของการเรียนแบบร่วมมือ การเรียนแบบร่วมมือมีกระบวนการมากมาย ซึ่งแต่ละประเภทสามารถ น าไปใช้ได้หลากหลายตามวัตถุประสงค์

การเรียนแบบร่วมมือแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี ้ (Johnson, Johnson and Holubec, 1994) 1. การเรียนแบบร่วมมืออย่างเป็นทางการ (formal cooperative learning group)

ผู้สอนจะมีบทบาทดังต่อไปนี ้

- ก าหนดวัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงในการเรียนแต่ละบทเรียนว่าต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

อะไรบ้าง เช่น ความรู้หรือทักษะทางสังคม ก าหนดบทบาทของกลุ่ม วิธีการจัดผู้เรียนเข้ากลุ่ม ก าหนด บทบาทของผู้เรียน วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการเรียนและจัดเตรียมความพร้อมด้านอื่น ๆ ในห้องเรียน

- อธิบายงานและให้ผู้เรียนมีการพึ่งพากัน ผู้สอนอธิบายงานที่มอบหมายให้ชัดเจน โดยเน้นการคิด และกลวิธี และต้องให้มีการพึ่งพากัน มีความรับผิดชอบส่วนบุคคล บอกเกณฑ์ความส าเร็จที่ตั้งไว้และ อธิบายทักษะทางสังคมที่ต้องใช้

-มีการดูแลและเข้าไปเกี่ยวข้องกับกลุ่ม เพื่อช่วยเหลือหรือเพื่อให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กันและใช้

ทักษะทางสังคมมากขึ้น ผู้สอนควรใช้การสังเกตอย่างมีระบบและรวบรวมข้อมูลในแต่ละกลุ่ม ในขณะที่

ผู้เรียนก าลังท างาน ผู้สอนอาจเข้าไปให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้เรียนต้องการความช่วยเหลือเพื่อให้งานมี

ความถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

- ประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนและช่วยผู้เรียนในการประมวลผลการท างานของกลุ่มว่าสามารถท า อะไรได้ดีบ้าง ผู้สอนต้องประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างระมัดระวังโดยประเมินจากการแสดงออก ท่าที

สมาชิกภายในกลุ่มจะเกิดการเรียนรู้จากการอภิปรายที่มีประสิทธิภาพมีการท างานร่วมกัน และมีการแก้ไข เพื่อปรับปรุงการท างานในครั้งต่อไปให้ดีขึ้น

2. กลุ่มเรียนแบบร่วมมืออย่างไม่เป็นทางการ (informal cooperative learning groups) ผู้เรียนจะท างานและเรียนรู้ร่วมกันเพื่อให้ประสบความส าเร็จและบรรลุเป้าหมายร่วมกัน บางครั้ง กลุ่มอาจท างานร่วมกันเพียงไม่กี่นาทีในแต่ละคาบ (Johnson, Johnson, and Holubec, 1994) ใน ระหว่างการจดค าบรรยายการสาธิต การเรียนแบบร่วมมืออย่างไม่เป็นทางการสามารถน าไปใช้เพื่อ

1) ให้ผู้เรียนสนใจสื่อที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

2) ปรับสภาวะอารมณ์ผู้เรียนให้พร้อมในการเรียน

3) เตรียมประสบการณ์ที่ผู้เรียนจะต้องน าไปใช้ในชั่วโมงเรียน 4) เพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนเกิดความคิดในสิ่งที่เราสอน และ

(17)

5) มีการใช้สื่ออุปกรณ์ในการเรียน ในระหว่างที่ผู้สอนก าลังสอน จะมีการใช้สื่ออุปกรณ์

เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากสื่อ มีการอธิบาย สรุป และผสมผสานสิ่งที่เรียนรู้เป็น โครงสร้างความรู้ กลุ่มประเภทนี ้จะใช้เวลาประมาณ 3 – 5 นาที ในการให้เรียนอภิปราย ก่อน – หลังการบรรยาย และใช้เวลาประมาณ 2 – 3 นาที ในการอภิปรายกับเพื่อนในสิ่ง ที่ได้จากการฟังค าบรรยาย

3. กลุ่มพื ้นฐานในการเรียนแบบร่วมมือ (cooperative base groups)

กลุ่มร่วมมือประเภทนี ้จะอยู่ร่วมกันเป็นระยะเวลานาน สมาชิกภายในกลุ่มจะมีความหลากหลาย มีสมาชิก 3 – 4 คน ที่อยู่ประจ ากลุ่ม (Johnson, Johnson, and Holubec, 1994) กลุ่มพื ้นฐานหลักนี ้จะให้

การสนับสนุน ช่วยเหลือให้ก าลังใจสมาชิกคนอื่น ๆ เพื่อให้มีผลการเรียนดีขึ้น เช่น กระตุ้นสมาชิกคนอื่น ๆ ให้สนใจในการเรียน ท างานที่ได้รับมอบหมาย เกิดการเรียนรู้รวมทั้งพัฒนาการการคิดและทักษะทางสังคม ขึ้นด้วยกลุ่มพื ้นฐานหลักนี ้อาจมีการพบปะกับสมาชิกคนอื่น ๆ ทุกวันในระดับประถมศึกษาหรือสองครั้งต่อ สัปดาห์ในระดับมัธยมศึกษาหรือเมื่อมีการเรียน ผู้เรียนในกลุ่มพื ้นฐานแบบร่วมมือนี ้จะอยู่ร่วมกันเป็นระยะ เวลานานอาจเป็นปีหรือหลายปี โดยดูแลและรักษาสัมพันธภาพที่จะส่งผลต่อสมาชิกคนอื่น ๆ ให้เรียนอย่าง มีประสิทธิภาพในสถานศึกษา การใช้กลุ่มร่วมมือพื ้นฐานประเภทนี ้จะช่วยเพิ่มความสนใจ การท างานและ ประสบการณ์ต่าง ๆ ในสถานศึกษา อีกทั้งยังช่วยเพิ่มคุณภาพและปริมาณในการเรียนรู้สถานศึกษาควร ส่งเสริมให้มีกลุ่มประเภทนี ้ขึ้นเพื่อช่วยในการปรับปรุงและพัฒนาสถานศึกษาให้ดีขึ้น ห้องเรียนที่มีขนาด ใหญ่จะมีความซับซ้อนมาก อีกทั้งผู้เรียนก็ต้องเรียนรู้เนื ้อหาวิชาต่าง ๆ ที่ยากมากมาย กลุ่มพื ้นฐานนี ้ยิ่งมี

ความส าคัญมากยิ่งขึ้นโดยอาจใช้กลุ่มประเภทนี ้ช่วยผู้สอนในกรณีที่มีผู้เรียนมาขอรับค าปรึกษาจ านวน มาก

Reid(1988 )กล่าวถึงพื ้นฐานของรูปแบบหนึ่งของการเรียนแบบร่วมมือมีดังนี ้

1. กิจกรรมการเรียน สมาชิกในกลุ่ม เป้าหมายในการถกปัญหา และผลที่ได้ต้องมีความชัดเจน 2. กลุ่มการเรียนกลุ่มเล็กจ านวน 4 คน และกลุ่มใหญ่ขึ้นมีการแบ่งกลุ่มกัน

3. มีพฤติกรรมที่ร่วมกันในการถกปัญหา ทุกคนท างานเป็นส่วน ๆ รับฟังผู้อื่น การยอมรับ ไม่ยอมรับ และมีความคิดที่ซื่อตรง

4. มีการปฏิสัมพันธ์กับสังคม มีการสื่อสาร การเรียนรู้กับคนอื่นและในชั้นเรียน ที่เป็นอิสระ

5. นักศึกษาจดบันทึกของตนเอง และค้นหาที่เป็นที่ยอมรับ และรับการวิจารณ์ร่วมกันจากกลุ่ม ระหว่าง การน าเสนอต้องมีการอธิบายสื่อสารให้ชัดเจน

6. กลุ่มมีความเป็นมิตรต่อกัน ผู้สอนจะช่วยในการแบ่งกลุ่ม

(18)

ความหมายของการเรียนแบบร่วมมือ ( Cooperative Learning )

นักการศึกษาหลายท่านได้กล่าวถึงความหมายของการเรียนแบบร่วมมือไว้ดังนี ้คือ

เคสส์เลอร์ (Kessler, 1992 : 8) ได้ให้ค าจ ากัดความของการเรียนแบบร่วมมือว่าเป็นการจัดกิจกรรม การเรียนแบบกลุ่มซึ่งวิธีการเรียนนั้นขึ้นอยู่กับผู้เรียนในกลุ่มต้องมีสัมพันธภาพทางสังคมด้วยกัน แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน เป็นก าลังใจคอยให้การกระตุ้นและช่วยเหลือผู้เรียนที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันให้

เกิดการเรียนรู้จนประสบความส าเร็จหรือบรรลุจุดมุ่งหมายด้วยกัน

สลาวิน (Slavin, 1995 : 2 – 7) ได้ให้ความหมายว่า การเรียนแบบร่วมมือเป็นวิธีสอนที่น าไป ประยุกต์ใช้ได้หลายวิชาและหลายระดับชั้น โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยโดยทั่วไปมีสมาชิก 4 คน ที่

มีความสามารถแตกต่างกันเป็นคนเรียนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน ผู้เรียนในกลุ่มที่ต้อง เรียนและรับผิดชอบงานกลุ่มร่วมกัน ผู้เรียนจะประสบผลส าเร็จก็ต่อเมื่อเพื่อนสมาชิกในกลุ่มทุกคนประสบ ผลส าเร็จบรรลุเป้าหมายร่วมกัน จึงท าให้มีการช่วยเหลือพึ่งพากัน และสมาชิกในกลุ่มจะได้รับรางวัล ร่วมกัน เมื่อกลุ่มท าคะแนนได้ถึงเกณฑ์ที่ก าหนดไว้

กรมวิชาการ (2544 : 4) ได้ให้ความหมายของการเรียนแบบร่วมมือคือ การจัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ ส่งเสริมให้นักเรียนท างานร่วมกันโดยในกลุ่ม ประกอบด้วย สมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบร่วมกัน ทั้งในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ตนเองและสมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบ ความส าเร็จตามเป้าหมายที่ก าหนด ซึ่งการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมีความหมายตรงกันข้ามกับการเรียนที่

เน้นการแข่งขัน และการเรียนตามล าพัง

ทิศนา แขมณี (2545 : 263 – 264) ได้กล่าวถึงการเรียนแบบร่วมมือว่าเป็นกระบวนการเรียนการ สอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื ้อหาสาระต่าง ๆ ด้วยตนเองด้วยความร่วมมือและความช่วยเหลือจากเพื่อน ๆ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะทางสังคม เช่น ทักษะการสื่อสาร ทักษะการท างานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการสร้าง ความสัมพันธ์ การแสวงหาความรู้ การคิด การแก้ปัญหาและอื่นๆโดยผสมผสานระหว่างทักษะของการอยู่

ร่วมกันในสังคมและทักษะในด้านเนื ้อหาวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เป็นการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็น ส าคัญ โดยผู้เรียนที่มีความสามารถต่างกัน เรียนและท างานด้วยกันเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4-6 คน ซึ่งมี

จุดมุ่งหมายเดียวกัน ช่วยเหลือกันภายในกลุ่ม ผู้ที่เรียนเก่งช่วยเหลือผู้ที่เรียนอ่อนกว่า และยอมรับซึ่งกัน และกัน ความส าเร็จของกลุ่มขึ้นอยู่กับสมาชิกทุกคนภายในกลุ่ม

ธีระพัฒน์ ฤทธิ์ทอง (2547 : 161) ได้ให้นิยามของการเรียนแบบร่วมมือว่าเป็นเทคนิคการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความรู้

ความสามารถแตกต่างกันแต่ละคนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการเรียนรู้และความส าเร็จของกลุ่มโดยที่ใน กลุ่มจะมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แบ่งปันทรัพยากร ให้ก าลังใจแก่กันและกัน คนเก่งจะช่วยเหลือคนที่

Referensi

Dokumen terkait

2010 menyatakan bahwa self- transcendence dan work meaningfulness merupakan dua hal yang tidak bisa saling terpisahkan karena perasaan bahwa bekerja merupakan hal yang bermakna dapat