• Tidak ada hasil yang ditemukan

การศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการอนุรักษ์ป่าในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยออนไลน์

ที่ท าการศึกษาในครั้งนี้ พบว่า หนังสือพิมพ์ภาษาไทยออนไลน์ ที่น าเสนอทางเว็บไซต์ ในแนวทาง อนุรักษ์ป่า ทั้ง 4 ด้าน โดยมีหน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ ต ารวจ ชุมชน ชาวบ้าน ได้ร่วมกันปลูกป่า หลายๆวิธี กรมป่าไม้ ทหาร ก็จัดท าโครงการส่งเสริมสนับสนุน ช่วยกันพัฒนาป่าไม้ที่เสื่อมโทรม พัฒนาแหล่งน้ าให้ดีขึ้น อีกทั้งมีการท าแนวป้องกันไฟไหม้ป่า รวมพลังป้องกันการบุกรุกพื้นที่ป่า หรือ ตัดไม้ท าลายป่า สื่อมวลชนได้พาดหัวข่าว น าเสนอ จึงท าให้พบว่า แนวทางการป้องกันการตัดไม้

ท าลายป่ามากที่สุด สื่อออนไลน์ปัจจุบันถือว่ามีความส าคัญ ที่น าเสนอข่าว รองลงมาเป็นการปลูกป่า ไม้ให้สมบูรณ์ คืนสู่ธรรมชาติ มีด้านการพัฒนาป่าด้วย ส่วนที่พบน้อยที่สุด คือการป้องกันไฟไหม้ป่า เป็นหน้าที่ของทุกคน สร้างจิตส านึกที่ดีร่วมกัน รักษาสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจก็ดี ประเทศชาติมั่นคง

แนวทางการอนุรักษ์ป่า ตามแนวคิดข้างต้น ทั้งหมด120 ข่าวทั้ง 4 หลัก คือ ปลูกป่า จ านวน 25 ข่าว และการพัฒนาป่าจ านวน 25 ข่าว การป้องกันไฟป่าจ านวน 25 ข่าว การป้องกันการ ตัดไม้ท าลายป่า จ านวน 45 ข่าว พบ แนวทางการอนุรักษ์ป่าโดยการป้องกันการตัดไม้ท าลายป่า มาก ที่สุด แสดงให้เห็นว่า มีการตัดไม้ท าลายป่ามาก ท าให้เกิดความเสียหายต่อป่าและทรัพยากรธรรมชาติ

ข่าวที่น าเสนอจึงแสดงเจตจ านงของรัฐที่ต้องการอนุรักษ์ป่า ในประเด็นการป้องกันการตัดไม้ท าลายป่า มากที่สุด จากข่าวที่น าเสนอแนวทางการอนุรักษ์ป่าส่วนใหญ่มาจากอุดมการณ์ทางการเมือง-การ ปกครองกับการเอาอ านาจมาใช้ แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่บ้านเมืองในการน า

136 กฎหมาย มาปฏิบัติการกับสังคมชุมชน ชาวบ้าน เกิดความเหลื่อมล้ าที่ปรากฏมากที่สุด รองลงมาคือ อุดมการณ์ทางสังคม ความร่วมมือเชื่อมโยงสัมพันธ์ เชิงปฏิบัติการร่วมกับสังคม ลดน้อยลง เกิดจาก ความสังคมถูกเอาเปรียบ ขาดความเท่าเทียมกัน ท าให้ขาดความเชื่อ อุดมการณ์ท้องถิ่นแม้ว่าเป็นแนว ความเชื่อดั้งเดิมก็จริง เช่น ประเพณี หรือวัฒนธรรมชุมชนก็ยังมีความเห็น หรือทัศนคติแตกต่างกัน ออกไปบ้าง เพราะหน่วยงานราชการ ชาวบ้าน บางส่วนยังเข้าไม่ถึงหลักธรรมค าสอน ท าดีท าชั่วที่

แท้จริง ท าให้ความเชื่ออื่น ๆ ลดน้อยลงตามล าดับ

นอกจากนี้ยังแฝงอุดมการณ์ทางศาสนา เข้ามาปลูกฝังคุณธรรม ทั้งความรัก ความกตัญญู

ให้มากขึ้น โดยน ามาประยุกต์ใช้ แก้ปัญหาให้หน่วยงานราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทหาร ต ารวจ ประชาชนทุกคน เข้าใจ แต่ก็ต้องใช้เวลามิใช่น้อย ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ชุมชนได้ส านึกให้รักษ์

ป่า แต่ทั้งนี้ก็ต้องอาศัยหน่วยงาน องค์กร ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้การปฏิบัติงานของหน่วยงาน ได้ท างานอย่างเต็มที่ อีกทั้งเสนอภาพแทน ยกย่อง ให้ก าลังใจ แก่ทุกคนอย่างเหมาะสม ซึ่งจะพบ

อุดมการณ์ และอ านาจในลักษณะแอบแฝงซ่อนเร้นอยู่ในแนวทางการอนุรักษ์ป่า จากข่าวหนังสือพิมพ์

ภาษาไทยออนไลน์ดังกล่าวสอดคล้องกับผลการวิจัยเรื่อง แนวทางการอนุรักษ์ป่าตามหลักค าสอนพุทธ ศาสนาเถรวาท : กรณีมูลนิธิฮักเมืองน่าน ซึ่งเป็นงานของพระครูพิพิธจารุธรรม (2561) ผลการวิจัย พบว่าค าสอนในพระพุทธศาสนา ที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าช่วยสนับสนุนให้บุคคล ด ารงชีวิตอย่าง

ฉลาด โดยใช้ให้น้อยเพื่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ท าให้เข้าใจสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา แนวทางการอนุรักษ์ป่าที่ยั่งยืน ใช้หลักไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในการควบคุมความประพฤติ

ด้วยการสร้างวินัยให้กับตนเอง และชุมชนด้วยศีล ถ้าทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างที่ควรจะเป็นแล้ว จึงต้องมีการสร้างกติกา หรือวินัยในการ ใช้ประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งศีลจะช่วยระมัดระวังควบคุมผู้ที่ฝ่าฝืน ปลูกจิตเมตตาธรรม หลัก มัชฌิมาปฏิปทา หลักสันโดษ และมีความรักต่อทรัพยากรธรรมชาติ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้

แบบพอเพียง

การน าเสนอข่าวแนวทางการอนุรักษ์ป่าในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยออนไลน์ครั้งนี้ พบว่ามี

การน าเสนอตามหลักองค์ประกอบของการเขียนข่าว มีพาดหัวข่าว ความน า เนื้อข่าวและการเชื่อมโยง ให้หนังสือพิมพ์ออนไลน์มีความน่าสนใจ สอดคล้องกับงานวิจัยของ พาณิชย์ สดสี (2560) ศึกษางาน กระบวนการรายงานข่าวในยุคดิจิทัลสื่อออนไลน์ หรือสื่อสังคมออนไลน์ เข้ามามีบทบาทส าคัญ ในการ รายงานข่าวในปัจจุบัน ด้วยลักษณะการสื่อสารสองทางแบบเรียลไทม์ เป็นตัวกระตุ้น ให้เกิดการ รายงานข่าวตั้งแต่กระบวนการหาข่าว ไปจนถึงกระบวนการเขียนข่าว การเผยแพร่ข่าว และยังพบ งานวิจัยของ ธีร์วรา ขะบูรณ์ (2557) ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์การใช้ภาษา ความหมายของค า จากพาดหัวข่าวในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ผลการวิจัยพบว่า การใช้ภาษาที่ปรากฏในพาดหัวข่าวได้แก่

การใช้ค าเรียกชื่อ การใช้ค าสมญานาม การใช้ค าย่อ การย่อค า และการใช้ค าภาษาต่างประเทศ ส่วน

137 ความหมายของค าที่ปรากฏในพาดหัวข่าว มี 2 ลักษณะ ได้แก่ ความหมายโดยตรงและความหมาย โดยนัย พบว่าค ามีความหมายแฝงหรือความหมายชักน าความคิดโยงไปถึงสิ่งอื่นอาจเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในบริบทนั้น

ส่วนการศึกษา กลวิธีทางภาษา ในการน าเสนอข่าวที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ป่า 6 ประเด็น คือการใช้ค าศัพท์ วลี ประโยค การใช้ชื่อและการเรียกชื่อ การใช้ค ากริยา การใช้ค าขยาย พบว่ามีการ ใช้ค าศัพท์มากที่สุด รองลงไปคือการใช้ค ากริยา การใช้ชื่อและการเรียกชื่อ การใช้ค าขยาย และวลี

หรือกลุ่มค า สุดท้ายก็คือประโยค กลวิธีดังกล่าวสื่อให้เห็นถึงผู้เสนอข่าวว่า ต้องการน าเสนอแนว ทางการอนุรักษ์ป่า โดยเน้นด้านการป้องกันการตัดไม้ท าลายป่า โดยใช้กลวิธีการใช้ค าศัพท์ เพื่อเน้น ข้อความในพาดหัวข่าว และเนื้อหาของข่าวให้เกิดความชัดเจน และน่าสนใจมากยิ่งขึ้น แสดงให้เห็นว่า การน าเสนอข่าวในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยออนไลน์ ได้รับการพัฒนา สื่อมวลชน มีการพัฒนาศักยภาพ ให้เหมาะสมกับการสื่อสารในยุคดิจิทัล มีลักษณะเด่นคือ การพาดหัวข่าว ความน า ส่วนเชื่อม และเนื้อ ข่าว กลวิธีทางภาษาการน าเสนอข่าว แนวทางการอนุรักษ์ป่าในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยออนไลน์

ได้อย่างน่าสนใจในยุคปัจจุบัน

ในการศึกษาเรื่อง แนวทางการอนุรักษ์ป่าในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยออนไลน์ 4 ด้าน วิเคราะห์ผ่านกลวิธีทางภาษา 6 ลักษณะ จากการน าเสนอพาดหัวข่าว และเนื้อข่าว ดังที่กล่าวใน เบื้องต้นมีความ สอดคล้องกับงานวิจัยของ กมลรัตน์ เพ็ชรขาวเขียว (2560) ที่ได้ศึกษาการวิเคราะห์

วาทกรรม และอุดมการณ์เกี่ยวกับป่า ในสังคมไทย มีจุดมุ่งหมายศึกษา เกี่ยวกับกลวิธีทางภาษา มี

บทบาทส าคัญ ในการน ามาประกอบสร้างความหมาย เกี่ยวกับป่า หรือป่าไม้ในวาทกรรมสาธารณะ ของสังคมไทย ผลการวิจัยพบว่า ความหมายเกี่ยวกับป่า หรือป่าไม้ในประเด็นที่ถูกกล่าวถึงในระดับ ชุมชน และท้องถิ่น ใช้กลวิธีทางภาษาซึ่งได้แก่กลวิธีทางศัพท์ กลวิธีการเปรียบเทียบ กลวิธีการขยาย ความ การอ้างถึงสหบท และวัจนกรรม ที่ถูกน ามาใช้ในการถ่ายทอดความหมายเกี่ยวกับป่า

ผู้วิจัยจึงมีความสนใจและมองเห็นว่าการอนุรักษ์ป่า จากสิ่งพิมพ์ออนไลน์ ว่าเป็นเรื่องที่

ส าคัญของทุกประเทศ ทุกคนต้องร่วมช่วยกันรับผิดชอบ ปกป้องดูแล เพราะว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับ ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เป็นทรัพยากรทางเศรษฐกิจของประเทศ เกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ เกี่ยวข้องกับการด ารงชีวิต การด าเนินวิถีชีวิตมนุษย์และสัตว์ทุกประเภทที่มีชีวิตอยู่ร่วมกันในโลก

อย่างไรก็ตามงานวิจัย เรื่อง แนวทางการอนุรักษ์ป่าในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยออนไลน์

ปรากฏแฝงอยู่ใน พาดหัวข่าว และเนื้อข่าว เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่า การปลูกป่า การพัฒนาป่า การ ป้องกันไฟป่า ป้องกันการตัดไม้ท าลายป่า มีความเกี่ยวข้อง เชื่อมโยงกับประชาชน รัฐบาล เจ้าหน้าที่

ทุกฝ่าย ในการใช้อ านาจ บริหาร สั่งการ มีสื่อมวลชน น าเสนอข่าว อย่างรวดเร็ว ทันสมัย เชื่อถือได้

ด้วยสิ่งพิมพ์ออนไลน์

138 จึงอาจกล่าวได้ว่ากลวิธีทางภาษาการน าเสนอข่าวในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยออนไลน์

นอกจากจะท าหน้าที่เป็นสื่อแทนความคิด การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลของคนในสังคมโดยเลือกใช้

ค าศัพท์ วลี ประโยคในบริบทต่าง ๆ แล้ว ยังมีเจตนา อุดมการณ์ อ านาจในเชิงความคิดอันเป็น แนวทางส าคัญในการอนุรักษ์ป่าไม้แฝงอยู่ด้วย การศึกษาวิเคราะห์และอธิบายถึงความคิดที่แฝงอยู่ใน กลวิธีทางภาษาเป็นสิ่งส าคัญที่จะช่วยให้เกิดความเข้าใจการสื่อความหมายในข้อความ ในข่าวได้ตาม วัตถุประสงค์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความเข้าใจร่วมกันในสังคมอีกด้วย

จากการที่ผู้วิจัยได้ศึกษา แนวทางการอนุรักษ์ป่า มีการปลูกป่า การพัฒนาป่า การป้องกัน ไฟป่า การป้องกันการตัดไม้ท าลายป่า จากพาดหัวข่าว เนื้อข่าว โดยใช้กลวิธีทางภาษา การใช้ค าศัพท์

วลี ประโยค การใช้ชื่อและการเรียกชื่อ การใช้ค า การใช้ค าขยาย ที่น าเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์

ภาษาไทยออนไลน์ ผู้วิจัยได้พิจารณาความสัมพันธ์ ในการเชื่อมโยงและเกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่

หน่วยงานราชการ ชุมชน ตลอดถึงสื่อมวลชนครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าแนวทางการอนุรักษ์ป่า ที่ใช้

แนวคิดกลวิธีทางภาษา และแนวคิดการน าเสนอข่าว พาดหัวข่าว เนื้อข่าว ผ่านสิ่งพิมพ์ออนไลน์ ช่วย สื่อให้เห็นการอนุรักษ์ป่า ทั้ง 4 ด้าน กลวิธีทางภาษา 6 ด้าน นับว่าการน าเสนอข่าวจากหนังสือพิมพ์

ภาษาไทยออนไลน์เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติในยุคของการสื่อสารที่ทันสมัยในปัจจุบัน เป็นอย่างยิ่ง

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยพบองค์ความรู้ใหม่ที่นอกเหนือจากความมุ่งหมายของการวิจัย คือ การพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์ออนไลน์ แตกต่างกับการพาดหัวข่าวในหนังสือพิมพ์ปกติทั่วไป และโครงสร้างของประโยค ที่ขาดประธาน ทั้งการใช้ค าศัพท์พาดหัวข่าว ที่รุนแรง ใช้ค าแสลง ภาษา เฉพาะกลุ่ม การใช้ส านวน มีเครื่องหมายวรรคตอนมาก มีความหมายในทางตรงและทางโดยนัย มีการ ใช้ค าศัพท์ใหม่ โดยส่วนมากเป็นการใช้ค าระดับที่ไม่เป็นทางการ ลักษณะดังกล่าวสะท้อนให้เห็นแง่คิด และสัมพันธ์เชื่อมโยง กับแนวทางการอนุรักษ์ป่า ปลูกป่า ฟื้นฟูป่า ป้องกันไฟป่า ป้องกันการตัดไม้

เป็นการสื่อสารให้เห็นความส าคัญของการอนุรักษ์ป่า เนื่องจากป่าไม้เป็นทรัพยากรทางธรรมชาติที่มี

ความส าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก จึงควรร่วมกันดูแล รักษา อนุรักษ์ป่าไม้ให้เป็นที่

พึ่งพาอาศัยของคนและสรรพสัตว์ทุกชนิดให้อยู่กับธรรมชาติของป่าอย่างเป็นสุขต่อไป

Garis besar

Dokumen terkait