• Tidak ada hasil yang ditemukan

เอกสารหนังสือพิมพ์ข่าวสดออนไลน์ และหนังสือพิมพ์ไทยรัฐออนไลน์

หนังสือพิมพ์ข่าวสดออนไลน์

ข่าวสด เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย บริหารงานโดย เครือมติชน โดยขรรค์ชัย บุนปาน โดยน าชื่อหัวหนังสือกีฬาเดิมของเครือมติชน รวมเข้าด้วยกันเป็น "ข่าวสด-สปอร์ตนิวส์"

พร้อมทั้งปรับขนาดหน้ากระดาษเป็นบอร์ดชีส โดยเริ่มนับเป็นปีที่ 1 ฉบับที่ 1 และตรงกับปีที่ 10 ฉบับที่ 2798 ของข่าวสดยุคแรก ตั้งแต่วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2533 จนถึงวันจันทร์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2534 เป็นจ านวน 129 ฉบับ ก่อนที่จะเริ่มใช้เพียงชื่อเดียวคือ "ข่าวสด" ตั้งแต่ฉบับที่ 130 ประจ าวันอังคารที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2534 พร้อมทั้งเปลี่ยนกองบรรณาธิการยกชุด ซึ่งคณะผู้บริหาร เครือมติชน ถือว่าในวันดังกล่าวของทุกปี เป็นวันครบรอบสถาปนาข่าวสดยุคปัจจุบัน

อนึ่ง เมื่อวันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2552 หนังสือพิมพ์ข่าวสด เริ่มลดขนาดหน้ากว้าง ของหนังสือพิมพ์ จากขนาดบรอดชีต 31x21.5 นิ้ว เป็น 28x21.5 นิ้ว เช่นเดียวกับหนังสือพิมพ์มติชน รายวันที่เปลี่ยนแปลงไปแล้วก่อนหน้านี้

ในปี พ.ศ. 2557 เว็บไซต์ของหนังสือพิมพ์ข่าวสดเป็นเว็บไซต์ข่าวที่มีผู้เข้าไปอ่านมาก ที่สุดในประเทศไทย โดยมียอดมากที่สุดคือ 1,065,780 ต่อหนึ่งวัน และในเฟซบุ๊กมียอดเฉลี่ยวันละ 3,000,000 คลิก รางวัลที่ข่าวสดได้รับนั้น ส่วนมากมาจากการที่หน่วยงานต่าง ๆ เล็งเห็นผลงานที่โดด เด่น อาทิ

รางวัลข่าวยอดเยี่ยม จากมูลนิธิอิศรา อมันตกุล จากข่าวคดีประวัติศาสตร์ "อุ้มฆ่า 2 แม่

ลูกศรีธนะขัณฑ์" ปี 2537

รางวัลข่าวชมเชย จากมูลนิธิอิศรา อมันตกุล จากข่าว "ขจัดมารศาสนา-ยันตระ-พุทโธ"

ปี 2538

รางวัลข่าวยอดเยี่ยมด้านสิ่งแวดล้อม จากมูลนิธิอิศรา อมันตกุล ในข่าว "แก๊งซี 8 ล่า สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร" ปี 2538

รางวัลภาพข่าวยอดเยี่ยม ปี 2550 รางวัลภาพข่าวการเมืองยอดเยี่ยมปี 2554 รางวัลสื่อมวลชนดีเด่น ด้านเผยแพร่กิจกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติ ปี 2551

56 รางวัลหน้าเยาวชนดีเด่น 5 สมัย ปี 2542, 2543, 2548, 2551 และ 2552 จาก ส านักงานส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ

รางวัลสื่อมวลชนดีเด่นสตรี จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ปี 2550

(สืบค้นจาก เว็บไซต์

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0

%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%94) อ้างอิง หน้า 5 ต่อจากหน้า 1, 'ข่าวสด' ชูธงลุยรักษาแชมป์

เว็บไซต์อันดับ 1. มติชนปีที่ 40 ฉบับที่ 14291: วันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2560 หน้านี้แก้ไข ล่าสุด เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2563 เวลา 17:00 น.

ข่าวสด ออนไลน์ เป็นสื่อที่มีทีมงานเดียวกับ หนังสือพิมพ์ข่าวสด สื่อสิ่งพิมพ์ในเครือบริษัท มติชน ซึ่งก่อตั้งวันที่ 9 เมษายน 2534 น าเสนอข่าวในสโลแกน "ครบทุกรส สดทุกเรื่อง"

ในฐานะหนังสือพิมพ์ระดับชาติที่วางขายทั่วประเทศ ข่าวสดมีเนื้อหาครอบคลุมข่าวด้าน ต่าง ๆ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ อาชญากรรม สิ่งแวดล้อม พระและศาสนา การศึกษา ต่างประเทศ บันเทิง กีฬา ข่าวด้านสตรี เยาวชน การท่องเที่ยว วิทยาการ ฯลฯ มีกลุ่มเป้าหมายที่กว้างและ หลากหลาย ทั้งในด้านอายุ และความสนใจส่วนบุคคล

ข่าวสดเป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้อ่านในบทบาท "หมาเฝ้าบ้าน" ที่คอยติดตามตรวจสอบ เหตุการณ์ความเป็นไปในสังคมและปกป้องผลประโยชน์ของประชาชนอย่างชนิด "กัดไม่ปล่อย"

ผลงานข่าวเจาะลึก "อุ้มฆ่า 2 แม่ลูกศรีธนะขัณฑ์" ที่ได้รับ รางวัลข่าวยอดเยี่ยม จากมูลนิธิอิศรา อมันตกุล และข่าว ขจัดมารศาสนา-ยันตระ-พุทโธ ที่ได้รับรางวัลข่าวชมเชยจาก

สถาบันเดียวกัน ท าให้ยอดขายข่าวสดทะยานขึ้นมารั้งอันดับ 3 หนังสือพิมพ์ที่มียอดขายสูงที่สุดใน ประเทศ ภายในเวลาเพียง 5 ปีนับจากการก่อตั้ง

ข่าวสดยังเป็นสื่อที่คว้ารางวัลหน้าเยาวชนดีเด่น 5 สมัย ปี 2542, 2543, 2548, 2551 และ 2552 จากส านักงานส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ และ รางวัลสื่อมวลชนดีเด่นสตรี

จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ปี 2550 เป็นต้น

หลังการเติบโตในหน้ากระดาษ ข่าวสดยังปรับตัวและเติบโตในโลกออนไลน์ นับจากเริ่ม ด าเนินการเผยแพร่เว็บไซต์ www.khaosod.co.th ตั้งแต่ปี 2546

ปี 2553 จากการจัดอันดับของ ‘อเล็กซา อินเตอร์เน็ต อิงก์’ บริษัทจัดอันดับเว็บไซต์ชื่อ ดังสัญชาติอเมริกัน พบว่า เว็บไซต์ข่าวสด www.khaosod.co.th สร้างสถิติเป็น 'เว็บข่าว' ใน ประเทศไทย ที่มียอด ผู้อ่านแบบไม่ซ้ าไอพี หรือ 'ยูนีกไอพี' จากทั่วโลกขยายตัวก้าวกระโดดถึง 98 เปอร์เซ็นต์

57 ปี 2556 ข่าวสดขยายฐานผู้อ่านอย่างก้าวกระโดดผ่านเครือข่ายโซเชียลมีเดีย โดย เฉพาะเฟซบุ๊ก ท าให้ยอดผู้อ่านเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมหาศาล เพจข่าวสดออนไลน์

www.facebook.com/khaosod เติบโตด้วยยอดไลก์ จากหลักหมื่นเป็นหลักแสน และแตะที่หลัก ล้าน

เว็บไซต์ www.khaosod.co.th ครองอันดับ 1 เว็บไซต์ข่าวที่มีผู้อ่านสูงสุด 3 ปีซ้อน (2015, 2016 แ ล ะ 2017) จ าก ก ารจั ด อั น ดั บ ข อ งท รูฮิ ต ส์ ข ณ ะที่ เพ จ เฟ ซ บุ๊ ก ข่ าว ส ด www.facebook.com/khaosod มียอดถูกใจและติดตามสูงสุดในกลุ่มสื่อข่าว 13 ล้านไลน์

ข่ า ว ส ด ยั ง ข ย า ย ก ลุ่ ม ผู้ อ่ า น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ท า ง เว็ บ ไซ ต์ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ www.khaosodenglish.com ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2556 ได้รับความเชื่อถือจากผู้อ่านและสื่อมวลชน ระดับโลกในการอ้างอิงข่าวอีกด้วย

(อ้างอิง สืบค้นจากเว็บไซต์ https://www.khaosod.co.th/about-us) หนังสือพิมพ์ไทยรัฐออนไลน์ (2505 - ปัจจุบัน)

เมื่อวันอังคารที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2505 หนังสือพิมพ์ ไทยรัฐ ออกวางจ าหน่ายฉบับ ปฐมฤกษ์ โดยกองบรรณาธิการชุดเดิมของเสียงอ่างทอง หนังสือพิมพ์เสียงอ่างทองถูกสั่งปิดอีกครั้ง ผลกระทบจากการเสนอข่าวการเมือง จึงท าให้หนึ่งในเบื้องหลังผู้บริหารขณะนั้น ต้องท าการขอเปิด หนังสือพิมพ์ในหัวใหม่ [4]เปลี่ยนสถานที่จัดพิมพ์ เปลี่ยนบรรณาธิการบริหาร[6] โดยใช้ค าขวัญในยุค แรกว่า หนังสือพิมพ์เช้า ภาพข่าวสดประจ าบ้าน มีจ านวนพิมพ์เพิ่มขึ้นเป็น 100,000 ฉบับ แต่ละฉบับ มีจ านวน 16 หน้า ราคาฉบับละ 1.00 บาท[7] ต่อมา ในราวปลายปี พ.ศ. 2508 ไทยรัฐเริ่มจัดพิมพ์

ฉบับพิเศษในวันอาทิตย์ ให้ชื่อว่า ไทยรัฐสารพัดสี จ านวน 20 หน้า ราคาเท่าเดิม ส่งผลให้ยอดพิมพ์

เพิ่มขึ้นเป็น 140,000 ฉบับ

ต่อมาในวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 เพิ่มจ านวนเป็น 20 หน้าต่อฉบับในทุกวัน ส่งผลให้ยอดพิมพ์เพิ่มขึ้นอีกเป็น 200,000 ฉบับ จากนั้นในปี พ.ศ. 2515 พนักงานของไทยรัฐพากัน ลาออกพร้อมกันเป็นจ านวนมาก จนเกือบท าให้ต้องปิดกิจการ จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ต่อมา [8] ต่อมาเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2516 ไทยรัฐประกาศปรับขึ้นราคาหนังสือพิมพ์อีก 50 สตางค์

(เป็น 1.50 บาท) ในช่วงเหตุการณ์วันมหาวิปโยค ระหว่างวันที่ 14-16 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ยอดพิมพ์

ไทยรัฐปรับตัวสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ โดยเฉพาะวันที่ 16 เพิ่มสูงขึ้นถึง 1,181,470 ฉบับ

ในวันขึ้นปีใหม่ พ.ศ. 2539 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐเพิ่มเป็น 40 หน้าทุกวัน ตามที่ได้

เตรียมการมาเป็นเวลายาวนาน พร้อมประกาศปรับราคาจ าหน่ายอีก 3 บาท (เป็น 8.00 บาท) จากนั้นจึงประกาศปรับราคาอีก 2 บาท (เป็น 10.00 บาท) เมื่อปี พ.ศ. 2551 ปัจจุบัน (พ.ศ. 2555) มีบริษัท วัชรพล จ ากัด เป็นเจ้าของ, ยิ่งลักษณ์ วัชรพล เป็นผู้อ านวยการ และสราวุธ วัชรพล

58 เป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการ ซึ่งทั้งสองเป็นบุตรีและบุตรของก าพล มีจ านวนพิมพ์ปัจจุบัน 1,000,000 ฉบับ ราคาจ าหน่าย 10.00 บาท ในหนึ่งฉบับมีประมาณ 28-40 หน้า

ไทยรัฐออนไลน์ (www.thairath.co.th)

วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ.2551 บจก.วัชรพล ก่อตั้งบริษัท เทรนด์ วีจี 3 จ ากัด ขึ้นเป็นกิจการในเครือ ส าหรับด าเนินธุรกิจสื่อประสม ที่เกี่ยวข้องกับหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ก็คือเรื่อง

เว็บไซต์ ไทยรัฐออนไลน์ (www.thairath.co.th) บริการข้อความสั้นผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่, สื่อ ดิจิตอลหลายรูปแบบรวมถึงให้บริการรับส่งข้อมูลภาพและเสียง บริการข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ในเชิง พาณิชย์ โดยได้ท าการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทั้งในและต่างประเทศ โดยมี

หนังสือพิมพ์ไทยรัฐเป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารหลัก[14] และมีการจัดท าแอปพลิเคชัน ส าหรับ ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพาได้แก่ ไอโอเอส แอนดรอยด์ แบล็คเบอร์รี โอเอส วินโดวส์โฟน รวมไปถึงวินโดวส์ 8และวินโดวส์ อาร์ทีอีกด้วย โดยแอฟพลิเคชั่นไทยรัฐ ในอุปกรณ์ไอแพด ที่ได้รับ รางวัลเหรียญทองแดง จากการประกาศผลรางวัล สื่อดิจิตอลยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย ครั้งที่ 3 ในการ สัมมนาสื่อดิจิตอลแห่งเอเชีย ซึ่งจัดโดยสมาคมหนังสือพิมพ์และผู้ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โลก

ปัจจุบันไทยรัฐ ใช้เครื่องพิมพ์ตราแมน โรแลนด์ รุ่นจีโอแมน จากประเทศเยอรมนี ซึ่งมี

ก าลังในการผลิตชั่วโมงละ 360,000 ฉบับ โดยใช้พิมพ์ฉบับละ 40 หน้า (สี่สี 20 หน้า) ซึ่งในแต่ละวัน ใช้กระดาษทั้งหมด 230 ม้วน คิดเป็นน้ าหนัก 225 ตัน และใช้หมึกสีด า 1,200 กิโลกรัม, สีแดง 445 กิโลกรัม, สีฟ้า 430 กิโลกรัม, สีเหลือง 630 กิโลกรัม โดยทางบริษัทฯ มักจะน าผู้เข้าเยี่ยมชมกิจการ เข้าชมการผลิตหนังสือพิมพ์จากเครื่องพิมพ์ดังกล่าว จนกระทั่งอุดม แต้พานิช กล่าวถึงการเข้าชม กิจการของ บจก.วัชรพล และหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ในการแสดงเดี่ยวไมโครโฟนของเขาว่า เป็นการ

“เยี่ยมแท่นพิมพ์”

โครงการในอนาคต

ไทยรัฐมีแผนการท าธุรกิจในสื่อโทรทัศน์ และวิทยุอินเทอร์เน็ตในปี 2556 โดยการ เปิดเผยของนายวัชร วัชรพล ผู้ช่วยประธานกรรมการบริหาร บริษัท วัชรพล จ ากัด ระบุว่าจะใช้เงิน รวมทั้งสิ้น 400 ล้านบาท เพื่อลงทุนท าธุรกิจโทรทัศน์อย่างเต็มรูปแบบ ทั้งการสร้างสตูดิโอ การสั่งซื้อ อุปกรณ์ การเตรียมบุคลากร สถานที่ และการรองรับการออกอากาศผ่านวิทยุอินเทอร์เน็ตอีกด้วย (สืบค้นจาก. https://th.wikipedia.org/) อ้างอิง แก้ไขล่าสุดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563 เวลา 05:26 น.

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ แนวทางการอนุรักษ์ป่าในหนังสือพิมพ์

ภาษาไทยออนไลน์ พบเอกสารที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

Garis besar

Dokumen terkait