• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทน า

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

8. การมีอนาคตในการท างาน

3.2 อาคารสงเคราะห์

3.3 การจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 3.4 การซื้อสินค้าลดราคา

3.5 การให้ค าปรึกษาทางการเงินและกฎหมาย 3.6 การให้บริการด้านศึกษาและห้องสมุด

ประชุม รอดประเสริฐ (2529, หน้า 61) ได้ถึงความหมายของสวัสดิการว่า คือ บริการหรือ กิจกรรมใด ๆ ที่องค์กรจัดขึ้น เพื่อให้ได้รับความสะดวกสบายในการท างาน ซึ่งจะก่อให้เกิดความมั่นคง ในอาชีพ มีหลักประกันแน่นอนในการด ารงชีวิต หรือได้รับประโยชน์อื่นนอกเหนือจากเงินเดือน หรือ ค่าจ้างประจ า และเพื่อเป็นสิ่งจูงใจให้พนักงานมีขวัญก าลังใจในการท างานดี มีความพึงพอใจ ก่อให้เกิดความรักในงาน และเต็มใจที่จะท างานอย่างคุณภาพ

กุลธน ธนาพงศธร (2526, หน้า 303-304) กล่าวถึง การจัดบริการสวัสดิการขององค์กร ว่าประกอบด้วยหลัก 6 ประการ คือ

1. หลักความสอดคล้องกับความต้องการส่วนใหญ่ของบุคลากร คือ การที่จะจัดตั้ง สวัสดิการนั้น จะต้องตอบสนองความต้องการส่วนมากของบุคลากรหรือทั้งหมด มิให้เป็นการจัดตั้ง เพื่อกลุ่มโดยเฉพาะ

2. หลักความสม่ าเสมอ คือ จะต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่องสม่ าเสมอ มิใช่ท าเพื่อ ตอบสนองความพึงพอใจขององค์กรเท่านั้น

3. หลักการตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของบุคลากร คือ จะต้องตอบสนอง ความต้องการที่แท้จริงของบุคลากร มิใช่ตรงกับความคิดเห็นขององค์กร

4. หลักความเสมอภาค คือ จะต้องให้แก่บุคลากรทุกคนในองค์กรอย่างเสมอภาค มีความเท่าเทียมกัน ไม่มีการเลือกปฏิบัติ

5. หลักความประหยัด คือ องค์การต้องค านึงถึงความสามารถทางการเงินที่สามารถ จ่ายได้ และต้องมีลักษณะการเสริมร้างความสามารถของพนักงานในการช่วยเหลือตัวเองต่อไปใน อนาคต

6. หลักสะดวกในการปฏิบัติ คือจะต้องสามารถน าเอาไปใช้ปฏิบัติได้โดยง่าย สะดวก ไม่สร้างความยุ่งยากใจแก่บุคลากรที่ได้รับสวัสดิการ เช่น ก าหนดเงื่อนไขให้ผู้ขอรับสวัสดิการจะต้อง เสียค่าธรรมเนียม หรือต้องช่วยออกเงินสมทบส่วนหนึ่ง

วิจิตร ระวิวงค์ (2524, หน้า 4) กล่าวถึง ความหมายของสวัสดิการ หมายถึง การด าเนินการใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นโดยนายจ้าง หรือ รัฐบาล หรือ สหภาพแรงงานที่มีความมุ่งหมายเพื่อให้ลูกจ้าง คนงาน ในอุตสาหกรรม การบริการ พาณิชยกรรม หัตถกรรม และการขนส่ง ซึ่งเป็นการประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่

เกษตรกรรม มีระดับความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร มีความสุขทางกายและทางใจ มีสุขอนามัยที่ดี

มีความก้าวหน้า และความมั่นคงในการด ารงชีวิต มีความปลอดภัยในการท างาน โดยไม่เห็นประโยชน์แก่ลูกจ้างเท่านั้น แต่ยังรวมถึงครอบครัวด้วย

สมพงศ์ เกษมสิน (2519, หน้า 241) ได้ให้ความหมายของสวัสดิการว่าเป็นการตอบแทน ในการปฏิบัติงาน อันนอกเหนือจากเงินเดือน ซึ่งอาจเรียกได้ว่าา เป็นรายได้พิเศษ (Extra Income) ที่องค์กรจ่ายให้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพิ่มเติมจากค่าจ้างประจ าและเงินเดือน ซึ่งจ่ายให้กับพนักงาน เจ้าหน้าที่ ให้มีก าลังกาย ก าลังใจ ในการปฏิบัติงานก่อให้เกิดผลดีแก่องค์กร

Beach (1970, p. 78) กล่างถึง สวัสดิการไว้ว่า คือ สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ที่หน่วยงานจัด ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของเงินรายได้ นอกเหนือจากเงินเดือนหรือค่าจ้างปกติที่หน่วยงาน จัดให้อยู่แล้ว เพื่อเป็นการช่วยเหลือในเรื่องการป่วย เจ็บไข้ อุบัติเหตุ การออกจากงานกะทันหัน ไม่ว่าจะเป็นการลาออกหรือเชิญให้ออก การพ้นออกจากงานเมื่อเกษียณอายุ นอกจากการให้เงินแล้ว

ยังสามารถให้เป็นความสะดวกสบายต่าง ๆ อาทิเช่น การให้วันลาพักผ่อนโดยได้รับเงินตามสมควร และการจัดสภาพแวดล้อมทั้งในและนอกสถานที่ท างาน ให้รู้สึกสะดวกสบายที่สุด

Harwell (1969, p. 325) ให้ความคิดเห็นว่า สวัสดิการเป็นรายได้พิเศษชนิดหนึ่ง โดยไม่เป็น การให้เงินพิเศษแก่บุคลากร แม้ว่าจะเป็นโครงการให้ความช่วยเหลือต่าง ๆ โครงการสวัสดิการที่

หน่วยงานจัดให้แก่บุคลากร ได้แก่ การให้การรักษาพยาบาล การให้ประกันชีวิต การให้เงินบ าเหน็จ เมื่อบุคลากรพ้นจากงาน การให้เก็บออมสินหรือออมทรัพย์ในรูปเงิน การให้รับใบหุ้นของบริษัท

ให้ความหมายว่า สวัสดิการ เป็นสิ่งตอบแทนที่ลูกจ้างหรือ ผู้ปฏิบัติงานจะได้รับเป็น รายได้พิเศษ รวมถึงความมั่นคงในการท างานบางครั้งการบริการด้านสวัสดิการอาจจะเป็นสิ่งที่

ผู้ปฏิบัติงานไม่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน แต่เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงาน ได้รับความพอใจ ในการตอบสนองความต้องการของตน แต่ไม่สามารถหาในการตอบสนองความต้องการ ได้ด้วย เงินเดือนหรือค่าจ้างประจ า และที่ส าคัญคือ บริการสวัสดิการถือว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่าในการเพิ่ม ขวัญที่ดีให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน บริการสวัสดิการที่ดีนั้น ถือเป็นสิ่งตอบแทนที่ต้องเพิ่มมากขึ้นทั้งนี้

ขึ้นอยู่กับนโยบายขององค์กรหรือหน่วยงานนั้น แนวคิดการจัดสวัสดิการ

1. แนวคิดเรื่องค่าตอบแทน (Compensation) แนวคิดนี้ถือว่าการลงทุนส าหรับ การจัดสวัสดิการประเภทใด หรือ รูปแบบใดก็ตามถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของค่าตอบแทนในการท างาน โดยจ่ายค่าตอบแทนประกอบด้วย 3 ส่วนส าคัญ คือ

1.1 การจ่ายค่าตอบแทนขั้นพื้นฐาน (Base Pay) เมื่อเริ่มงานที่ก าหนดให้ปฏิบัติ

หน้าที่เป็นปกติ ตามการแบ่งงานที่ปฏิบัติออกเป็นหมวดหมู่ต่าง ๆ

1.2 การจ่ายประโยชน์เกื้อกูล (Fringe Benefits) ที่นอกเหนือจากค่าจ้าง ได้แก่

ผลตอบแทนที่เป็นการประกันประเภทต่าง ๆ (Insurance Benefits) การจ่ายเงินเพิ่มพิเศษ (Premium Payment) การจ่ายในกรณีที่ไม่ได้ท างาน (Pay for Time not Worked) เช่น วันลาป่วย วันหยุด พักผ่อนประจ าปี วันหยุดประจ าสัปดาห์ เป็นตัน

1.3 การจ่ายเพื่อการจูงใจ (Incentive Pay) เป็นการจ่ายเงินพิเศษที่นอกเหนือจาก การจ่ายขั้นพื้นฐาน เป็นการจ่ายให้กับพนักงานแต่ละคนที่มีความสามารถ และมีความพยายามใน การเพิ่มผลผลิต โดยมากก าหนดขึ้นจากการพิจารณาจากความสามารถของพนักงาน

2. แนวคิดประโยชน์เกื้อกูล (Finger Benefits) มาจากแนวคิดมนุษยนิยมที่เน้นว่า นายจ้างในฐานะที่เป็นผู้มีโอกาสเหนือกว่าจะต้องเป็นผู้ให้ และเป็นการให้แบบบิดาให้บุตรโดยเสน่หา มิใช่ด้วยบังคับ วัตถุประสงค์ของการให้เพื่อให้พนักงานอยู่กับนายจ้างเป็นเวลานาน นอกจากนี้เชื่อ

ว่าผลของการให้จะท าให้ลูกจ้างมีขวัญก าลังใจที่ดี ส่งผลให้ผลผลิตสูงขึ้น ดังนั้น หลักการของ แนวคิดนี้นายจ้างจะไม่จัดสวัสดิการให้ ถ้าหากไม่ได้รับประโยชน์ต่างตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ กลับมายังองค์กรโดยตรง ซึ่งผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับกลับคืนมานี้ อย่างน้อยที่สุดควรจะเท่ากับ ต้นทุนที่นายจ้างจ่ายไป การจัดสวัสดิการจึงจ าเป็นต้องเปรียบเทียบกับตันทุนที่สามารถประเมินค่า เป็นตัวเงินได้ ซึ่งจะส่งผลดีกลับคืนสู่องค์กร วิธีการได้มาซึ่ง ประโยชน์เกื้อกูลที่ลูกจ้างพึงได้รับจาก นายจ้างนั้น ส่วนหนึ่งมาจากข้อตกลงร่วมกันระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง หรือโดยความสมัครใจ ของนายจ้าง ทั้งนี้นายจ้างต้องจ่ายสวัสดิการต่าง ๆ ให้กับลูกจ้างขั้นต่ าตามที่กฎหมายก าหนด ส่วนที่เกินกว่ากฎหมายหรือที่เรียกว่าประโยชน์เกื้อกูลหรือประโยชน์สงเคราะห์ ตามปกตินายจ้าง จะจ่ายให้โดยไม่น าเรื่องค่าของงานมาเกี่ยวข้องด้วย แต่จัดสรรให้ในฐานะที่ลูกจ้างเป็นสมาชิกของ องค์กร

3. แนวคิดสวัสดิการของประเทศญี่ปุ่น เป็นแนวคิดการบริหารงานตามอาวุโสโดย การประเมินผลงานจากอายุของลูกจ้าง พื้นฐานการศึกษา, ความสามารถในงาน, อายุงาน, อายุงาน ในต าแหน่ง โดยเน้นการจ้างตลอดชีพ (ธนัญญา บุรณศิริ, 2549, หน้า 23) โดยแนวคิดนี้มีรูปแบบ สวัสดิการที่หลากหลาย มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีต่อลูกจ้าง ครอบครัว และชุมชน โดยมีมาตรการด าเนินการ และรูปแบบสวัสดิการที่แตกต่างจากในอดีต อนุทิน ปลืมมาลี (2542, หน้า 24) นอกเหนือจากสวัสดิการตามกฎหมาย (การประกันการรักษาพยาบาล การประกันการว่างงาน การประกันอุบัติเหตุในการท างาน และเงินบ านาญ) แล้วการให้สิ่งความสะดวก ต่าง ๆ เพื่อสวัสดิการ ของพนักงานเป็นสิ่งที่มีกันอยู่แล้วในประเทศญี่ปุ่น สวัสดิการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการจัดที่อยู่อาศัย และหอพักสิ่งอ านวยความสะดวก และกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรม กิจกรรมทางสันทนาการ การจัดหา สถานที่ร้านค้าส าหรับรับประทานอาหารกลางวัน และการกู้ยืมเงินเพื่อที่อยู่อาศัย เป็นต้น เป็นสวัสดิการ ที่ฝ่ายบุคคลต้องเป็นผู้จัดหาให้กับพนักงาน และส าหรับหัวหน้างานจะได้รับสิทธิพิเศษในสวัสดิการ ต่าง ๆ ซึ่งจะครอบคลุมไปถึงสมาชิกในครอบครัวด้วย (Hideo, 1990, pp. 40-52)

จะเห็นได้ว่าสวัสดิการของประเทศญี่ปุ่นเป็นการจัดสวัสดิการที่เป็นปัจจัยที่ท าให้

พนักงานชาวญี่ปุ่นมีขวัญก าลังใจในการท างานทุ่มเท และมีความจงรักภักดีต่อองค์การ โดยสรุปก็คือ แนวคิดสวัสดิการของประเทศญี่ปุ่นจะครอบคลุมถึงครอบครัวของพนักงาน และให้ความช่วยเหลือ พนักงานที่เกษียณอายุแล้ว ได้แก่ การศึกษา การฝึกอบรม การให้ค าปรึกษา กิจกรรมนันทนาการ เป็นต้น พนักงานต้องมีส่วนในการสมทบหรือแบ่งรับภาระเพื่อการจัดสวัสดิการบางประเภท (ชนิการ์

ละเอียด, 2543, หน้า 22)