• Tidak ada hasil yang ditemukan

โครงการ รณรงค์และก าจัด

บริบทการก่อตัวของสภาองค์กรชุมชนต าบลนาแว

1. โครงการ รณรงค์และก าจัด

ขยะมูลฝอย ส่งเสริมการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อมของ หมู่บ้าน

- ต้นไม้มีจ านวนลดลง

- ภาวะโลกร้อน ชุมชนตัดโค่นต้นไม้ไม่

ค านึงถึงภัยธรรมชาติที่

ตามมา

2.โครงการ ส่งเสริมการปลูก ต้นไม้ทดแทน การปล่อยพันธุ์ปลาสู่

แหล่งน้ าธรรมชาติ - ขาดพันธุ์ปลาตาม ธรรมชาติ

- ขาดแหล่งเพาะพันธุ์

สัตว์น้ า

- ประชาชนหากินกัน มากขึ้น

- เกิดการบุกรุกพื้นที่

สาธารณะ

3. โครงการปล่อย พันธุ์ปลาสู่แหล่ง น้ าธรรมชาติ

ที่มา: สุภาวดี เกลา (สัมภาษณ์เมื่อ 17 เมษายน 2565)

ตารางที่ 11 ตัวอย่างภาพรวมการประมวลสภาพปัญหาและการจัดท าแผนงานโครงการ ด้านความมั่นคงปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยของแต่ละหมู่บ้าน

ด้านความมั่นคง ปลอดภัยและความสงบ

เรียบร้อย

สภาพปัญหา สาเหตุ โครงการแก้ไข

ปัญหา การรณรงค์ให้รู้ถึงโทษ

ของยาเสพติดและ ส่งเสริมให้เยาวชนท า กิจกรรมยามว่าง

ขาดการดูแลจาก ผู้ปกครองที่ทั่วถึง

เยาวชนชอบ เลียนแบบและเอา แบบอย่างไม่รู้ถึงความ ถูกต้อง

โครงการฝึกอบรม เยาวชนแกนน าต้าน ภัยยาเสพติด

ตารางที่ 11 (ต่อ) ด้านความมั่นคง ปลอดภัยและความสงบ

เรียบร้อย

สภาพปัญหา สาเหตุ โครงการแก้ไข

ปัญหา แก้ปัญหาไฟฟ้าตามจุด

เสี่ยงและโค้งอันตราย จัดการฝึกอบรมกฎ จราจร

ไฟฟ้าส่องสว่างไม่

เพียงพอ

การไม่มีงบประมาณ ไม่ปฏิบัติตามกฎ จราจร

โครงการป้องกัน และลดอุบัติเหตุบน ท้องถนน

ต่อท่อประปาหมู่บ้านให้

ทั่วถึง ขุดลอกคลองที่มี

อยู่ให้พ้นจากสิ่งกีดขวาง และให้ลึกกว่าเดิม

น้ าไม่เพียงพอในฤดูแล้ง คลองตื้นเขิน ฤดูฝนน้ า ไหลผ่านไม่สะดวก

เกิดภัยแล้ง เกิดอุทกภัย

-โครงการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย ธรรมชาติ

-โครงการขุดลอกคู

คลอง

-โครงการส่งท่อ ประปา ที่มา: สุภาวดี เกลา (สัมภาษณ์เมื่อ 17 เมษายน 2565)

ตารางที่ 12 ตัวอย่างภาพรวมการประมวลสภาพปัญหาและการจัดท าแผนงานโครงการ ด้านโครงสร้างพื้นฐานของแต่ละหมู่บ้าน

ด้านโครงสร้าง

พื้นฐาน สภาพปัญหา สาเหตุ โครงการแก้ไขปัญหา

การสร้างถนนหนทาง การคมนาคมไม่

สะดวก และไม่

ปลอดภัย

ถนนไม่ได้มาตรฐาน น้ าท่วมขังช่วงฝนตก หนัก

โครงการก่อสร้างถนน

การขยายผิวจราจร การสัญจรไปมาของ ประชาชนไม่สะดวก

ถนนคับแคบ โครงการขยายผิว จราจร

ที่มา: สุภาวดี เกลา (สัมภาษณ์เมื่อ 17 เมษายน 2565)

อย่างไรก็ตาม วรวิทย์ กระถินหอม ยังได้กล่าวเพิ่มเติมถึงแนวโน้มของบทบาทการขับเคลื่อน สภาองค์กรชุมชนแต่ระดับว่า ที่ผ่านมาการติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชนดี

อยู่แล้ว แต่ผมมองว่า ยังเป็นไปเพื่อการตอบสนองการประเมิน ตาม ก.พ.ร. ของหน่วยงานสนับสนุน หน่วยงานเห็นทิศทางในการขับเคลื่อนของตนเอง จึงเกิดการเรียนรู้ในสิ่งจ าเป็นเหล่านี้เฉพาะกลุ่มคน ที่จ ากัด ดังนั้น สภาองค์กรชุมชนควรใช้โอกาสนี้ ขยายระดับของการทบทวนตนเอง หรือมีการสรุป บทเรียน ประเมินผลตนเอง ในระดับกลุ่ม องค์กรชุมชนในพื้นที่ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งเพื่อให้

ชาวบ้านเห็นทิศทางในการขับเคลื่อนของตนเอง เห็นปัญหา อุปสรรค เห็นทิศทางในการปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองได้อย่างยั่งยืน เป็นต้น (วรวิทย์ กระถินหอม, สัมภาษณ์เมื่อ 9 สิงหาคม 2564)

จากการศึกษาเรื่อง การขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชนจังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อการจัดการ ตนเอง ซึ่งใช้สภาองค์กรชุมชนต าบลนาแว เป็นพื้นที่ต้นแบบของการศึกษานั้น ผู้วิจัยได้พบประเด็น ที่น่าสนใจของการขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชน 5 ด้านด้วยกันคือ 1) ด้านบริบทการก่อตัวและภาพรวม การขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชนในประเทศ 2) ด้านบริบทการก่อตัวของสภาองค์กรชุมชนจังหวัด นครศรีธรรมราช 3) ด้านบทบาทของสภาองค์กรชุมชนจังหวัดนครศรีธรรมราชที่น าไปสู่การจัดการ ตนเอง และ4) ด้านบริบทการก่อตัวของสภาองค์กรชุมชนต าบลนาแว และ 5) ด้านบทบาทของสภา องค์กรชุมชนต าบลนาแวที่น าไปสู่การจัดการตนเอง เป็นล าดับ

ผลจากการศึกษาพบว่า บริบทการก่อตัวของสภาองค์กรชุมชนจังหวัดนครศรีธรรมราช เกิดจากการรวมตัวของเครือข่ายขบวนองค์กรชุมชนเดิม ที่รวมตัวกันเพื่อจดแจ้ง จัดตั้งเป็นสภาองค์กร ชุมชนต าบลในเบื้องต้น และเกิดการขับเคลื่อนขยายผลสมาชิกกลุ่ม เครือข่ายองค์กรชุมชน ผู้น าชุมชน และภาคีพัฒนา เพิ่มเติมขึ้น ตามประเด็นยุทธศาสตร์ของเครือข่ายสภาองค์กรชุมชนจังหวัด นครศรีธรรมราช

ส าหรับบทบาทของสภาองค์กรชุมชนจังหวัดนครศรีธรรมราชที่น าไปสู่การจัดการตนเอง พบว่า มีบทบาทส าคัญที่น าไปสู่การจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่นอย่างน้อย 2 ระดับด้วยกันคือ 1) การจัดการระดับปากท้องตนเอง ที่เรียกว่า Self Management กล่าวคือ บทบาทการขับเคลื่อน สภาองค์กรชุมชนดังกล่าวพบว่า ท าให้ชุมชนมุ่งเน้นการขับเคลื่อนตามประเด็นกิจกรรมที่ตนเองสนใจ และท าอยู่เป็นเรื่องหลัก เพื่อให้ตนเอง ครอบครัว หรือเครือญาติ มีขีดความสามารถพึ่งพาตนเองได้

เป็นต้น 2) การจัดการตนเองระดับปกป้องคุ้มครองสาธารณะ ที่เรียกว่า Self Governance กล่าวคือ บทบาทการขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชนดังกล่าวพบว่า ชุมชนท้องถิ่นใช้กลุ่ม องค์กรชุมชน เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนประเด็นปัญหาสาธารณะของชุมชน เกิดเป็นกลุ่มผลประโยชน์

สาธารณะที่มีอ านาจสร้างพลังการต่อรอง และมีการจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบายร่วมกัน เป็นต้น