• Tidak ada hasil yang ditemukan

คำแนะนำสำหรับผู้เขียน

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "คำแนะนำสำหรับผู้เขียน"

Copied!
11
0
0

Teks penuh

(1)

คําแนะนําสําหรับผูนิพนธบทความ

สถานที่ติดตอเกี่ยวกับบทความ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร

เลขที่ ๑๑๑ หมูที่ ๕ ตําบลแมคํามี อําเภอเมืองแพร จังหวัดแพร ๕๔๐๐๐ โทรศัพท ๗๕๔-๖๔๖๕๘๕ ตอ ๔๐๒

๑. สวนประเภทของบทความที่ลงตีพิมพในวารสาร

วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร ตีพิมพบทความประเภทตางๆ ดังนี้

๑.๑ บทความพิเศษ (Special article) บทความทางวิชาการพิเศษ ที่เสนอเนื้อหา

ความรูวิชาการอยางเขมขน และผานการอาน และพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น ๆ มีกลุมเปาหมายเปนนักวิชาการ ในวงการวิชาการ/วิชาชีพ

๑.๒ บทความทางวิชาการ (Academic article) นําเสนอเนื้อหาความรู วิชาการ มีกลุมเปาหมายที่เปน อาจารย นิสิต นักศึกษา หรือประชาชนทั่วไป

๑.๓ บทความวิจัย (Research article) ไดแกรายงาน ผลงานวิจัยใหมที่มีองค

ความรูอันเปนประโยชน ซึ่งไมเคยตีพิมพในวารสารใดๆ มากอน

๑.๔ บทความปริทรรศน (Review article) เปนบทความที่รวบรวมความรูจาก ตํารา

หนังสือและวารสารใหม หรือจากผลงานและประสบการณของผูนิพนธมาเรียบเรียงขึ้น โดยมีการวิเคราะห สังเคราะหวิจารณเปรียบเทียบกัน

๑.๕ ปกิณกะ (Miscellany) ไดแก บทความทบทวนความรู เรื่องแปล ยอความจาก วารสารตางประเทศ การแสดงความคิดเห็น วิจารณ แนะนําเครื่องมือ ตําราหรือหนังสือใหม

ที่นาสนใจ หรือขาวการประชุมทั้งระดับชาติและนานาชาติ

การสงบทความ

บทความที่จะตีพิมพในวารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร ในระบบออนไลนมายัง www.ojs.mcu.ac.th/index.php/JGMP ทั้งนี้12 ผูนิพนธตองมีสําเนาเก็บไวดวยเพื่อการอางอิง

(2)

๒๓๖ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๑)

การตรวจสอบบทความและพิสูจนอักษร

ผูนิพนธควรตะหนักถึงความสําคัญ ในการเตรียมบทความใหถูกตองตามรูปแบบของ บทความที่วารสารกําหนด ตลอดจนตรวจสอบความถูกตองแนนอน พรอมทั้งพิสูจนอักษร

กอนที่จะสงบทความใหกับบรรณาธิการ การเตรียมบทความใหถูกตองตามขอกําหนด ของวารสารจะทําใหการพิจารณาตีพิมพมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น และทางกองบรรณาธิการ

ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไมพิจารณาบทความจนกวาจะไดแกไขใหถูกตองตามขอกําหนดของวารสาร การเตรียมบทความ

๑. ตนฉบับพิมพเปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ แตละเรื่องจะตองมีบทคัดยอ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การใชภาษาไทยใหยึดหลักการใชคําศัพทและการเขียนทับศัพท

ภาษาอังกฤษ ตามหลักของราชบัณฑิตยสถาน ใหหลีกเลี่ยง การเขียนภาษาอังกฤษ ปนภาษาไทย ในขอความ ยกเวนกรณีจําเปน เชน ศัพททางวิชาการที่ไมมีคําแปล หรือคําที่ใช

แลว ทําใหเขาใจงายขึ้น คําศัพทภาษาอังกฤษที่เขียนปนภาษาไทยใหใชตัวเล็กทั้งหมด ยกเวน ชื่อเฉพาะสําหรับตนฉบับภาษาอังกฤษควรไดรับการตรวจสอบความถูกตองดานการใชภาษา จากผูเชี่ยวชาญดานภาษาอังกฤษกอน

๒. ขนาดของตนฉบับ ใชกระดาษขนาด A๔ ระยะขอบกระดาษบน ๑.๕ นิ้ว ลาง ๑ นิ้ว ซาย/ขวา ๑ นิ้ว พรอมใสเลขกํากับทางมุมขวาบนของกระดาษทุกหนา โดยมี

ระยะหางระหวางบรรทัด เปนแบบ double space เพื่อสะดวกในการอานและการแกไข

๓. ชนิดและขนาดตัวอักษร ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษใหใชตัวอักษร TH SarabunPSK

- ชื่อเรื่องใชตัวอักษรขนาด 20 pt.ตัวหนา - ชื่อผูนิพนธใชตัวอักษรขนาด 16 pt. ตัวปกติ

- หัวขอหลักใชตัวอักษรขนาด 18 pt. ตัวหนา - หัวขอรองใชตัวอักษรขนาด 16 pt. ตัวหนา

- บทคัดยอและเนื้อเรื่องใชตัวอักษรขนาด 16 pt. ตัวปกติ

- การอางอิงเชิงอรรถใชอักษรขนาด 14 pt. ตัวปกติ

๔. จํานวนหนา ความยาวของบทความ ๘ - ๑๒ หนา รวมตาราง รูป ภาพ และ เอกสารอางอิง

การพิจารณาและคัดเลือกบทความ

บทความแตละบทความจะไดรับพิจารณาจากคณะกรรมการกลั่นกรองบทความ วารสาร (Peer Review) จํานวน ๒ ทาน ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เกี่ยวของ และไดรับ

(3)

๒๓๗

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Campus Vol. 4 No. 2 (July–December 2018)

ความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการกอนตีพิมพ โดยการพิจารณาบทความจะมีรูปแบบ ที่ผูพิจารณาบทความไมทราบชื่อหรือขอมูลของผูเขียนบทความ และผูเขียนบทความไมทราบ

ชื่อผูพิจารณาบทความ (Double-blind peer review) ๒. สวนบทคัดยอ (Abstract)

บทคัดยอควรมีความยาวไมเกิน ๕๐๐ คํา โดยแยกตางหากจากเนื้อเรื่อง บทความวิจัย และบทความปริทรรศน ตองมีบทคัดยอทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ซึ่งบทคัดยอควรเขียน ใหไดใจความทั้งหมดของเรื่อง ไมตองอางอิง เอกสาร รูปแบบ หรือตาราง และลักษณะของ

บทคัดยอควรประกอบไปดวยวัตถุประสงค (Objective) วิธีการศึกษา (Methods) ผลการศึกษา (Results) สรุป (Conclusion) และคําสําคัญ (Key words) ซึ่งควรเรียบเรียง

ตามลําดับ และแยกหัวขอใหชัดเจน ดังนี้

- วัตถุประสงค ควรกลาวถึงจุดหมายของการศึกษา

- วิธีการศึกษา ควรกลาวถึงวิธีการคนควาขอมูล ระเบียบวิธีวิจัยที่นํามาศึกษา สถิติที่

นํามาใช

- ผลการศึกษา ควรประกอบดวยผลทีไดรับจากการคนควา ศึกษา และผลของคาสถิติ

(ในกรณีทีมีการวิเคราะห)

- สรุป ควรกลาวถึงผลสรุปของการคนควาและศึกษา

- คําสําคัญ ควรมีคําสําคัญ ๓ - ๖ คํา ที่ครอบคลุมชื่อเรืองทีศึกษา และจะปรากฏอยู

ในสวนทายของบทคัดยอ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยตองจัดเรียงคําสําคัญตามตัวอักษร และ คั่นดวยเครื่องหมายอัฒภาค (;)

๓. สวนเนื้อเรื่อง ควรประกอบดวย

๓.๑ บทนํา (Introduction) เปนสวนกลาวนําโดยอาศัยการปริทรรศน (review) ขอมูลจากรายงานการวิจัย ความรู และหลักฐานตางๆ จากหนังสือหรือวารสารที่เกี่ยวของกับ เรื่องที่ศึกษา และกลาวถึงเหตุผลหรือความสําคัญของปญหาในการศึกษาครั้งนี้ สมมติฐานของ การศึกษา ตลอดจนวัตถุประสงคของการศึกษาใหชัดเจน

๓.๒ วิธีการศึกษา (Methods) กลาวถึงรายละเอียดของวิธีการศึกษาประชากร และกลุมตัวอยางในการศึกษา และวิธีการศึกษา เครื่องมือทีใชในการวิจัย รวมทั้งสถิติที่นํามาใช

วิเคราะหขอมูล

๓.๓ ผลการศึกษา (Results) เปนการแสดงผลทีไดจากการศึกษาและวิเคราะห

ในขอ ๓.๒ ควรจําแนกผล ออกเปนหมวดหมูและสัมพันธกับวัตถุประสงคของการศึกษา โดย การบรรยาย ในเนื้อเรื่อง และแสดงรายละเอียดเพิ่มเติม ดวยภาพประกอบ ตาราง กราฟ หรือ แผนภูมิ ตามความเหมาะสม

(4)

๒๓๘ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๑)

๓.๔ การอภิปรายผล (Discussion) เปนการนําขอมูลที่ไดมาจากการวิเคราะห

ของ ผูนิพนธนํามาเปรียบเทียบกับผลการวิจัยของผูอื่น เพื่อใหมีความเขาใจหรือเกิดความรูใหม

ที่เกี่ยวของกับงานวิจัยนั้น รวมทั้งขอดีขอเสียของวิธีการศึกษา เสนอแนะความคิดเห็นใหมๆ ปญหาและอุปสรรคตางๆ ทีไดจากการศึกษาครั้งนี้ เพื่อเปนแนวทางที่จะนําไปประยุกตใหเกิด ประโยชน

๓.๕ ขอเสนอแนะ (Suggestion) การแนะแนวการนําผลการวิจัยไปใชใหเกิด ประโยชนตอไป

๓.๖ เอกสารอางอิง (References) ใชรูปแบบการอางอิงแบบเชิงอรรถ (Footnote) เปนการทํารายการเอกสารอางอิงหรือคําอธิบายเพิ่มเติมที่อยูดานลางของขอความ ในหนากระดาษแตละหนา ซึ่งมีรูปแบบการเขียนอางอิง แตกตางกันตามประเภทของเอกสาร หรือแหลงที่ใชอางอิง ดังนี้

การอางอิงเชิงอรรถ ๑. หนังสือ

๑.๑ คัมภีรพระไตรปฎกหรือหนังสือสําคัญพิมพเปนชุด รูปแบบ

ใหอางชื่อยอคัมภีร.เลม/ขอ/หนา. และใหวงเล็บคําวา (บาลี) ไวหลังคํายอใน กรณีที่ใชพระไตรปฎก ฉบับภาษาบาลีหรือวงเล็บคําวา (ไทย) ไวหลังคํายอในกรณีทีใช

พระไตรปฎก ฉบับภาษาไทย ตัวอยาง

๑) ขุ.ชา. (บาลี) ๒๗/๘๕๕/๑๙๑.

๑.๒ หนังสือทั่วไป รูปแบบ

ผูแตง, ชื่อเรือง, (สถานที่พิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพิมพ,ปที่พิมพ), หนา.

ตัวอยางภาษาไทย

พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), ปรัชญากรีก : บอเกิดภูมิปญญา ตะวันตก, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หนา ๓๘.

(5)

๒๓๙

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Campus Vol. 4 No. 2 (July–December 2018)

ตัวอยางภาษาอังกฤษ

Venerable Dr. W. Rahula, What the Buddha Taught, (Bangkok : Haw Trai Printing, 2994), p.69.

๑.๓ วารสาร รูปแบบ

ผูเขียน, “ชื่อบทความ”, ชื่อวารสาร, เลมที่หรือปที่ (เดือน ป) : หนา.

ตัวอยางภาษาไทย

พระครูสังฆรักษเกียรติศักดิ กิตฺติปฺโญ, “การกําหนดประเด็นปญหา การตั้งชื่อเรื่องและการเขียนวัตถุประสงคการวิจัยทางสังคมศาสตร”, มจร สังคมศาสตร

ปริทรรศน, ปที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๗) : ๑๔ - ๒๘.

ตัวอยางภาษาอังกฤษ

K.N., Jayatileke, “The Buddhist Theory of Causality”, The Maha Bodhi, vol. 77 No.1 : 10 - 15.

๑.๔ วิทยานิพนธ

รูปแบบ

ชื่อผูวิจัย, “ชื่อหัวขอวิทยานิพนธ”, ระดับของวิทยานิพนธ, (ชื่อแผนกวิชา หรือคณะและมหาวิทยาลัย), ปที่พิมพ.

ตัวอยางภาษาไทย

อนุวัติ กระสังข,“การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในองคกรตามแนวพุทธภายใต

กระแสบริโภคนิยม”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยา), ๒๕๕๗.

๑.๕ สัมภาษณ

รูปแบบ

สัมภาษณชื่อผูใหสัมภาษณ, ตําแหนง (ถามี), วัน เดือน ป.

ตัวอยางภาษาไทย

สัมภาษณ พระเทพโสภณ, อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗.

(6)

๒๔๐ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๑)

๑.๖ เว็บไซต

รูปแบบ

ชื่อผูแตง. ชื่อเรือง. [ออนไลน]. แหลงที่มา : [วัน เดือน ป].

ตัวอยางภาษาไทย

พระธรรมโกศาจารย (ศ.ดร.ประยูร ธมฺมจิตฺโต). ธรรมประกาศโนบาย.

[ออนไลน]. แหลงที่มา : http://www.buddhismth.com/index.php?lay=show&ac

=article&ld=538970572&Ntype=9 [ ๗ กันยายน ๒๕๕๕].

ตัวอยางภาษาอังกฤษ

Maslow Abraham, Motivation and Personnality, New York : Harper and Row Publishers, 1970.

การเขียนเอกสารอางอิง ๑. ภาษาไทย

(ก) ขอมูลชั้นปฐมภูมิ

รูปแบบ

ชื่อผูแตง.ชื่อหนังสือ.สถานที่พิมพ : สํานักพิมพ, ปที่พิมพ.

ตัวอยางภาษาไทย

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

(ข) ขอมูลทุติยภูมิ

๑) หนังสือ รูปแบบ

ชื่อผูแตง.ชื่อหนังสือ.สถานทีพิมพ : สํานักพิมพ, ปทีพิมพ.

ตัวอยางภาษาไทย

จํานง อดิวัฒนสิทธิ. สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔.

(7)

๒๔๑

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Campus Vol. 4 No. 2 (July–December 2018)

๒) วารสาร รูปแบบ

ผูเขียน, “ชื่อบทความ”, ชื่อวารสาร, เลมที่หรือปที่ (เดือน ป) : หนา.

ตัวอยางภาษาไทย

พระครูสังฆรักษเกียรติศักดิ์ กิตฺติปฺโญ. “การกําหนดประเด็นปญหาการ ตั้งชื่อเรืองและการเขียนวัตถุประสงคการวิจัยทางสังคมศาสตร”. มจร สังคมศาสตรปริทรรศน.

ปที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๗) : ๑๔ - ๒๘.

๓) วิทยานิพนธ

รูปแบบ

ชื่อผูเขียน. “ชื่อเรื่อง”. ชื่อปริญญา. ชื่อแผนกวิชาหรือคณะ : มหาวิทยาลัย, ปที่พิมพ.

ตัวอยางภาษาไทย

ทรงวิทย แกวศรี. “การศึกษาวิเคราะหยุทธวิธีในการประกาศศาสนาของ พระพุทธเจา”. ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐.

) สัมภาษณ

รูปแบบ

สัมภาษณชื่อผูใหสัมภาษณ, ตําแหนง (ถามี), วัน เดือน ป.

ตัวอยางภาษาไทย

สัมภาษณ พระเทพโสภณ, อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗.

๕) เว็บไซต

รูปแบบ

ชื่อผูแตง. ชื่อเรือง. [ออนไลน]. แหลงที่มา : [วัน เดือน ป].

(8)

๒๔๒ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๑)

ตัวอยางภาษาไทย

พระธรรมโกศาจารย (ศ.ดร.ประยูร ธมฺมจิตฺโต). ธรรมประกาศโนบาย. [ออนไลน]. แหลงทีมา: http://www.buddhismth.com/index.php?lay=show&ac

=article&ld=538970572&Ntype=9 [๗ กันยายน ๒๕๕๕].

ตัวอยางภาษาอังกฤษ

Maslow Abraham, Motivation and Personnality, New York : Harper and Row Publishers, 1970.

๔. สวนภาพประกอบ (Figure) และสวนตาราง (Table)

ภาพประกอบและตารางควรมีเทาที่จําเปน โดยพิมพหนาละ ๑ ภาพ หรือ ๑ ตาราง สําหรับคําบรรยายภาพและตารางใหพิมพเหนือภาพหรือตาราง สวนคําอธิบายเพิ่มเติมใหใสใต

ภาพหรือตาราง

(9)

ชื่อเรื่องภาษาไทย

(TH Sarabun PSK 20 Point ตัวหนา) ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ

(TH Sarabun PSK 20 Point ตัวพิมพใหญทั้งหมด ตัวหนา)

ชื่อผูเขียนคนที่ ๑ (ภาษาไทย)0(ภาษาอังกฤษ), ชื่อผูเขียนคนที่ ๒ (ภาษาไทย)(ภาษาอังกฤษ), และชื่อผูเขียนคนที่ ๓ (ภาษาไทย)(ภาษาอังกฤษ) (TH SarabunPSK 16 Point ตัวธรรมดา ชิดขวา) บทคัดยอ (TH Sarabun PSK 18 Point ตัวหนา ชิดซาย)

บทคัดยอ ควรมีความยาวไมเกิน ๕๐๐ คํา (TH Sarabun PSK 16 Point ตัวธรรมดา)

คําสําคัญ : กก กข กค กง (จํานวน ๓ - ๕ คํา)

(TH Sarabun PSK 16 Point ตัวธรรมดา ชิดซาย เคาะระหวางคํา ๑ เคาะ) Abstract (TH Sarabun PSK 18 Point ตัวหนา ชิดซาย)

Abstract (TH Sarabun PSK 16 Point ตัวธรรมดา)

Keywords : AA, AB, AC, AD (จํานวน ๓ - ๕ คํา)

(TH Sarabun PSK 16 Point ตัวธรรมดา ชิดซาย เคาะระหวางคํา ๑ เคาะ)

ชื่อสังกัดหนวยงานหรือมหาวิทยาลัย (ภาษาไทย)

ชื่อสังกัดหนวยงานหรือมหาวิทยาลัย (ภาษาไทย)

ชื่อสังกัดหนวยงานหรือมหาวิทยาลัย (ภาษาไทย) (TH SarabunPSK 14 Point ตัวธรรมดา)

๑.๕ นิ้ว

๑ นิ้ว ๑ นิ้ว

รูปแบบการเขียนบทความเพื่อขอตีพิมพเผยแพรในวารสาร

บัณฑิตศึกษาปริทรรศนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร

๑ นิ้ว

(10)

๒๔๔ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๑) บทนํา/ความเปนมาและความสําคัญของปญหา (TH Sarabun PSK 18 Point ตัวหนา ชิดซาย)

เนื้อหา...

...

...

(TH Sarabun PSK 16 Point ตัวธรรมดา)

วัตถุประสงคการวิจัย (TH Sarabun PSK 18 Point ตัวหนา ชิดซาย)

๑...

๒...

๓...

(TH Sarabun PSK 16 Point ตัวธรรมดา)

วิธีดําเนินการวิจัย (TH Sarabun PSK 18 Point ตัวหนา ชิดซาย)

เนื้อหา...

...

...

(TH Sarabun PSK 16 Point ตัวธรรมดา)

ผลการวิจัย (TH Sarabun PSK 18 Point ตัวหนา ชิดซาย)

เนื้อหา...

...

...

(TH SarabunPSK 16 Point ตัวธรรมดา)

อภิปรายผลการวิจัย (TH Sarabun PSK 18 Point ตัวหนา ชิดซาย)

เนื้อหา...

...

...

(TH Sarabun PSK 16 Point ตัวธรรมดา)

ขอเสนอแนะการวิจัย (TH Sarabun PSK 18 Point ตัวหนา ชิดซาย)

เนื้อหา...

...

...

(TH Sarabun PSK 16 Point ตัวธรรมดา)

(11)

๒๔๕

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Campus Vol. 4 No. 2 (July–December 2018) เอกสารอางอิง (TH Sarabun PSK 18 Point ตัวหนา ชิดซาย)

(ตัวอยาง)

กรุณา บุญญพันธุ. “แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการประชุมคณะกรรมการประจําคณะ ทันตแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม”. การคนควาแบบอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิต วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๐.

ณรงควิทย แสนทอง. Smarter Meeting เทคนิคการประชุมที่เหนือชั้น. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, ๒๕๔๙.

ประชุม โพธิกุล. เทคนิคการประชุม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสายใจ, ๒๕๓๙.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ระเบียบมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวาดวย งานสารบรรณ พุทธศักราช ๒๕๔๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.

วัชรินทร หินประกอบ. “การศึกษาปญหาการจัดการประชุมและแนวทางการพัฒนาการประชุมในโรงเรียน ที่เปดสอน ชวงชั้นที่ ๔ จังหวัดชัยภูมิ”. วิทยานิพนธ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สถาบัน บัณฑิตศึกษา : มหาวิทยาลัย ราชภัฏชัยภูมิ, ๒๕๕๓.

ศูนยนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. คูมือการปฏิบัติงาน“เทคนิคการ ปฏิบัติงานประชุม” นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, ๒๕๕๔.

(TH Sarabun PSK 16 Point ตัวธรรมดา)

Referensi

Dokumen terkait

ค าจ ากัดความหรือนิยามศัพท์เฉพาะ ๓.๑ บริการยืม – คืน หมายถึง บริการที่ให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้ใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่ ห้องสมุดจัดหามาเพื่อประโยชน์แก่การศึกษาค้นคว้าความรู้ทั่วไป