• Tidak ada hasil yang ditemukan

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนในชุมชนเขตดุสิตของกรุงเทพมหานคร

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนในชุมชนเขตดุสิตของกรุงเทพมหานคร"

Copied!
85
0
0

Teks penuh

(1)

รายงานการวิจัย เรื่อง

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ในชุมชนเขตดุสิตของกรุงเทพมหานคร

โดย

ดวงสมร ฟกสังข

คณะวิทยาการจัดการ

ไดรับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปงบประมาณ 2555

(2)

บทคัดยอ

ชื่อรายงานการวิจัย : หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ในชุมชนเขตดุสิตของกรุงเทพมหานคร

ชื่อผูวิจัย : นางสาวดวงสมร ฟกสังข

ปที่ทําการวิจัย : 2555

...

การศึกษาวิจัยเรื่อง “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนใน ชุมชนเขตดุสิตของกรุงเทพมหานคร” มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาสภาพปจจุบันของครัวเรือนในชุมชน เขตดุสิตในการจัดการขยะมูลฝอยกับการใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2) พิจารณาและ วิเคราะหถึงลักษณะครัวเรือนที่มีผลตอการตัดสินใจในการนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตาม หลักการ 5R มาใชในการแกไขปญหาขยะมูลฝอยของครัวเรือนในชุมชนเขตดุสิต และ (3) พัฒนาและ สงเสริมวิธีการจัดการขยะมูลฝอยตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดวยกระบวนการมีสวนรวม ของประชาชน กลุมตัวอยางเปนหัวหนาครัวเรือนในชุมชนเขตดุสิต จํานวน 379 หลังคาเรือน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถาม ทําการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป สถิติที่ใชใน การวิจัยคือ คาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

ผลการวิจัยพบวาหัวหนาครัวเรือนมีระดับการปฏิบัติของการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ตามหลักการ 5R ในดานการลดปริมาณขยะ (Reduce) การนําวัสดุกลับมาใชซ้ํา (Reuse) การนําวัสดุ

ที่ชํารุดมาซอมแซมใชใหม (Repair) และการนําวัสดุหมุนเวียนกลับมาใชใหม (Recycle) อยูในระดับ ปานกลาง ขณะที่ดานการหลีกเลี่ยงวัสดุที่ยอยสลายยาก (Reject) อยูในระดับมาก โดยการวิเคราะห

พบวาเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได ขนาดครัวเรือน การมีสวนรวม ความรูเกี่ยวกับการ จัดการขยะ และความเขาใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสัมพันธกับการนําหลักการ 5R มาใชใน การแกไขปญหาขยะมูลฝอยของครัวเรือนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากนี้ผลการวิจัย พบวาการจัดการขยะตามหลักการ 5R มีความสัมพันธกับผลการดําเนินงานในการลดปริมาณขยะ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครัวเรือนสวนใหญตองการใหชุมชนดําเนินโครงการรี

ไซเคิลขยะอยางเปนรูปธรรม รวมทั้งปลูกจิตสํานึกและเผยแพรความรูใหเยาวชนและคนในชุมชนได

ตระหนักถึงการคัดแยกขยะ การใชประโยชนจากขยะ และโทษของขยะมูลฝอยในครัวเรือน รวมทั้ง ตองการใหชุมชนจัดกิจกรรมประกวดหนาบานสะอาดปลอดขยะเพื่อเปนการเสริมสรางแรงจูงใจใหกับ ครัวเรือนในการพัฒนาครัวเรือนของตนใหสะอาดอยูเสมออันสงผลตอสุขภาพของคนในชุมชนใหดีขึ้น

(3)

Abstract

Title : Sufficient Economy Philosophy and the Management of Household’s Garbage in Dusit Community, Bangkok Author : Duangsamorn Faksang

Year : 2012

...

The study of “Sufficient Economy Philosophy and the Management of Household’s Garbage in Dusit Community, Bangkok” aimed (1) to study current state of waste management in the household in Dusit community and the implementation of sufficient economy philosophy, (2) to consider and analyze the characteristic of the household that affects to the decision to apply 5R principle of sufficient economy philosophy in solving the waste problem of households in Dusit community, and (3) to develop and promote the way to manage the waste according to sufficient economy philosophy by public participation. Sample used in this study consisted of 379 head of the households in Dusit community. Research instrument was a questionnaire. Data was analyzed by a computer program. Statistics used in this research were frequency, percentage, mean, standard deviation, and correlation coefficient.

Research result revealed that 5R principle applied by the head of the households were waste Reduce, Reuse, Repair, and Recycle at a medium level, and avoid using waste that is difficult to be decomposed (Reject) at a high level. Based on the analysis, gender, age, education level, occupation, income, household size, participation, waste management knowledge, and understanding on sufficient economy philosophy were related to the implementation of 5R principle to solve household waste management problem at the statistical significance level of .05. In addition, the findings showed that waste management according to 5R principle was related to the operational performance in waste reduction at the statistical significant level of .05. Most of the household would like the community to carry on waste recycle project concretely, as well as creating conscious mind and propagandize the knowledge to youths and people in the community about waste separation and fallouts of waste in the household. In addition, most of them would like the community to arrange a competition for the cleanest front yard without any waste in order to create a motivation for households to make their house being always clean, which will lead to better health condition of people in the community.

(4)

กิตติกรรมประกาศ

รายงานการวิจัยเรื่อง "หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ในชุมชนเขตดุสิตของกรุงเทพมหานคร” (Sufficiency Economy Philosophy and the Management of Household’s Garbage in Dusit Community, Bangkok) เปนโครงการวิจัยที่

จัดทําขึ้นโดยไดรับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เพื่อนําขอมูลไปใชเปนองคความรู

และแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผูวิจัยขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยเฉพาะอยางยิ่งขอขอบคุณ อาจารย ดร.วิทยา เมฆขํา ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และ คณะทํางานที่ไดใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะซึ่งเปนประโยชนยิ่งตอการวิจัย ตลอดทั้งหัวหนา ครัวเรือนที่ใหความอนุเคราะหขอมูลที่เปนประโยชนยิ่งที่มีสวนชวยใหงานวิจัยครั้งนี้สําเร็จลุลวงตาม วัตถุประสงค และขอขอบคุณเพื่อนๆ ทุกคนที่ใหความชวยเหลือ สนับสนุน และใหกําลังใจในการทํา วิจัยใหเสร็จสมบูรณ

อาจารยดวงสมร ฟกสังข

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

(5)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (1)

ABSTRACT (2)

กิตติกรรมประกาศ (3)

สารบัญ (4)

สารบัญตาราง (6)

สารบัญภาพ (8) บทที่ 1 บทนํา……….1

1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหาที่ทําการวิจัย.………1

1.2 วัตถุประสงคการวิจัย……….……….3

1.3 ขอบเขตของการวิจัย…..……….………3

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ………..4

1.5 นิยามศัพทเฉพาะ………...4

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ………….……….5

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.………..5

2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวม...………..11

2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะ...………22

2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ…...…...……….…………45

2.5 กรอบแนวคิดการวิจัย...……….…………47

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย...48

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง………..……...48

3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย………...………...48

3.3 ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ………..…50

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล………...…...50

3.5 การวิเคราะหขอมูล...50

บทที่ 4 ผลการวิจัย...52

4.1 การวิเคราะหขอมูล………...52

(6)

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ...68

5.1 สรุปผลการวิจัย...………..………...………..68

5.2 การอภิปรายผล...……….………...…...70

5.3 ขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัย………...…...…………...73

5.4 ขอเสนอแนะในการทําวิจัยในอนาคต.………..………...73

บรรณานุกรม 74

ภาคผนวก ภาคผนวก ก 77

ภาคผนวก ข 85

ประวัติผูทํารายงานการวิจัย 88

(7)

สารบัญภาพ

ภาพ หนา

1 กรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง...9

(8)

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหาที่ทําการวิจัย

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นับวาเปนปรัชญาอันสําคัญยิ่งที่องคพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสแนะแนวทางการดําเนินชีวิตใหกับสังคมไทยในทุกระดับ ตั้งแต

ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ใหดําเนินชีวิตบนพื้นฐานของความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันที่ดีในการเผชิญกับการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก โดยอาศัยความรอบรูและความระมัดระวังอยางยิ่งในการนํา วิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินงานทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันตองเสริมสรางพื้นฐาน จิตใจใหมีสํานึกในคุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต เพื่อใหสมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็วและกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

ปจจุบันหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไดนําไปประยุกตใชในดานตางๆ เชน ดานเศรษฐกิจ ดาน คุณภาพชีวิต ดานการศึกษา และดานสิ่งแวดลอม เปนตน ในประเด็นที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมจะ พบวาขยะมูลฝอยกลายเปนปญหาสําคัญที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นของสังคมเมืองอยาง กรุงเทพมหานคร เนื่องจากกรุงเทพมหานครเปนเมืองหลวงที่มีประชากรอาศัยอยูอยางหนาแนน การ เพิ่มขึ้นของประชากรนี้จะทําใหเกิดชุมชนตางๆ เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับการพัฒนาดานอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่กระจุกตัวอยูเฉพาะในเมืองหลวง สงผลใหเกิดปญหาดานตางๆ ตามมา มากมาย และปญหาประการหนึ่งที่สําคัญก็คือการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยที่มีปริมาณมากขึ้น ตามความหนาแนนของชุมชนและประชากร และนับวันขยะมูลฝอยจะมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น

ขยะมูลฝอยกลายเปนปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในชุมชนทุกระดับ ตั้งแตระดับครัวเรือน ชุมชน สังคม และระดับประเทศ ซึ่งปญหานี้นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น อันเปนผลมาจากความ เจริญเติบโตของชุมชน การขยายตัวของเมือง การพัฒนาอุตสาหกรรม การอพยพของแรงงานจาก ชนบทมาสูเมือง ทําใหเกิดการรวมตัวกันอยูเปนกระจุกกลายเปนชุมชนที่หนาแนน ความกาวหนาทาง เทคโนโลยี และพฤติกรรมของมนุษยในการดํารงชีวิต สงผลใหเกิดปญหาขยะที่เพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก จากขอมูลของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพบวาปริมาณขยะมูลฝอย ในป พ.ศ.2552 คาดวาทั่วประเทศมีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 15 ลานตันหรือวันละ 41,240 ตัน ซึ่งใกลเคียงกับป

พ.ศ.2551 โดยเขตกรุงเทพมหานครมีปริมาณขยะมูลฝอยประมาณวันละ 8,900 ตัน (รอยละ 21) ใน เขตเทศบาลเมืองและเมืองพัทยามีประมาณวันละ 15,560 ตัน (รอยละ 38) และในเขตองคการบริหาร สวนตําบล ประมาณวันละ 16,780 ตัน (รอยละ 41) ขยะมูลฝอยทั่วประเทศไดรับการกําจัดอยาง ถูกตองตามหลักวิชาการประมาณ 17,645 ตันตอวัน หรือรอยละ 43 ของปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศ (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2552)

การใชประโยชนจากขยะมูลฝอย ในป พ.ศ.2552 คาดวาจะมีขยะมูลฝอยนํากลับมาใช

ประโยชนประมาณ 3.5 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 23 ของปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศ โดยรอยละ 90 เปนเศษแกว กระดาษ เหล็ก อลูมิเนียม รอยละ 7 เปนการทําขยะอินทรีย และรอยละ 3 เปนการ นําขยะมูลฝอยมาผลิตพลังงานไฟฟาและเชื้อเพลิงทดแทนของเสียอันตราย ในป พ.ศ.2552 คาดวามี

(9)

ของเสียอันตรายเกิดขึ้นประมาณ 3.1 ลานตัน (เพิ่มขึ้นจากป 2551 ประมาณ 20,000 ตัน) โดยมา จากภาคอุตสาหกรรม ประมาณ 2.4 ลานตัน (รอยละ 77) และจากชุมชนประมาณ 0.7 ลานตัน (รอย ละ 23) (รวมซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส และมูลฝอยติดเชื้อ) ทั้งนี้ของเสีย อันตรายกวารอยละ 70 ยังคงเกิดขึ้นในเขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และภาคตะวันออก (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2552)

ชุมชนเขตดุสิต เปนเขตพื้นที่เกาแกทั้งประวัติชุมชนและความเปนอยูของประชาชน โดยเปน ที่ตั้งของสถานที่สําคัญตางๆ อาทิเชน พระราชวังดุสิต พระบรมรูปทรงมา พระตําหนักสวนดุสิต พระที่

นั่งวิมานเมฆ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระที่นั่งอนันตสมาคม วังสุโขทัย วังสวนสุนันทา และสวนจิตรลดา เปนตน ชุมชนเขตดุสิต เปนชุมชนที่จัดอยูในกลุมเขตกรุงเทพกลางมีสภาพพื้นที่ประกอบไปดวยแหลง การคา และแหลงที่อยูอาศัยหนาแนนมากภายในพื้นที่ 10.665 ตารางกิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยู

จํานวนประมาณ 116,742 คน จํานวนบาน 29,772 หลังคาเรือน จํานวนชุมชน 38 ชุมชน นับเปนอีก ชุมชนหนึ่งที่ไดรับผลกระทบจากปญหาขยะมูลฝอยที่มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น จากขอมูลของกรม วิชาการ สํานักรักษาความสะอาด พบวาในชวง 5 ปที่ผานมาปริมาณขยะมูลฝอยของชุมชนเขตดุสิต เพิ่มมากขึ้น โดยในป พ.ศ.2550 มีปริมาณมูลฝอย 61,716.06 ตัน เพิ่มขึ้นรอยละ 7.3 เมื่อเทียบกับป

พ.ศ.2549 ที่มีปริมาณมูลฝอย 57,541.74 ตัน และป พ.ศ.2551 มีปริมาณมูลฝอย 62,770.93 ตัน เพิ่มขึ้นรอยละ 1.7 เมื่อเทียบกับป พ.ศ.2550 และป พ.ศ.2552 มีปริมาณมูลฝอย 61,954.20 ตัน ลดลงรอยละ 1.3 เมื่อเทียบกับป พ.ศ.2551 และป พ.ศ.2553 มีปริมาณมูลฝอย 62,244.26 ตัน เพิ่มขึ้นรอยละ 0.5 เมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2552

ปญหาขยะมูลฝอยนับวันจะมีผลเสียมากขึ้นกวาเดิม เพราะขยะมูลฝอยสงผลกระทบตอ สภาพแวดลอมของกรุงเทพฯ เกือบทุกดาน ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สุขภาพ อนามัยและสิ่งแวดลอม เชน ปญหาดานเศรษฐกิจ ไดแก รัฐตองใชงบประมาณเปนจํานวนมากในการ กําจัดขยะ พรอมกันนั้นขยะมูลฝอยก็ยังทําลายทัศนียภาพที่สวยงาม มีกลิ่นเหม็นและยังสงผลกระทบ ตอธุรกิจการทองเที่ยวหรือมูลคาของที่ดินในบริเวณที่มีขยะมูลฝอยก็จะต่ําลงดวย ปญหาดานสังคม และการเมือง ไดแก สังคมเกิดการแตกแยก มีการแบงชนชั้นระหวางคนจนกับคนรวย ระหวางอาชีพ ทําความสะอาด เก็บขยะกับอาชีพอื่น ๆ ซึ่งจะทําใหเกิดปญหาความไมเสมอภาค ความไมเทาเทียมกัน ทางสังคมเกิดขึ้นได เกิดความขัดแยงระหวางรัฐกับประชาชนในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย ประชาชนยอมไมยอมใหรัฐมาใชบริเวณพื้นที่ใกลบานในการกําจัดขยะมูลฝอย หรือความขัดแยง กันเองระหวางผูมีผลประโยชนจากการกําจัดขยะมูลฝอย ซึ่งจะเปนเหตุนําไปสูการปฏิบัติงานที่ทุจริต ของภาครัฐไดและจะเปนปญหาของประเทศตอไป สําหรับปญหาดานสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดลอม ไดแก ระบบนิเวศเกิดความไมสมดุล เกิดมลพิษดานตางๆ ไมวาจะเปนทางน้ํา อากาศ หรือในดิน ซึ่ง จะนําไปสูการเกิดโรคภัยไขเจ็บขึ้นได เพราะขยะมูลฝอยเปนแหลงสําคัญที่เปนพาหนะนําโรคชนิด ตางๆ มาสูประชาชน เปนตน

การจัดการขยะมูลฝอยนั้น มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ที่มุงเนนใหสังคมอยูเย็นเปน สุข โดยมีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักปฏิบัติที่สําคัญ ซึ่งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมไดยึดหลัก ”ความพอเพียง” ของวิถีชีวิตที่มีความสัมพันธและการพึ่งพิง

(10)

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของบุคคล ชุมชน และสังคมนั้นๆ มุง ”ทางสายกลางหรือความ สมดุล” ระหวางการอนุรักษและการใชประโยชน ผลประโยชนระยะสั้นและผลประโยชนระยะยาว ตลอดจนผลไดและผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอม โดยมุงเสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการอยู

รวมกันกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสันติ และเนนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนใน สังคม สูการบริหารจัดการเพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและสมดุล

ทุกภาคสวนจึงตองหันมารวมมือกันอยางจริงจัง เพื่อปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมของ มนุษยใหเคารพในคุณคาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีการใชทรัพยากรอยางมี

ประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อลด ละ เลิกการผลิตขยะ ซึ่งเปนการจัดการอยางเปนกระบวนการในการ สรางจิตสํานึกอันจะทําใหเกิดการสรางภูมิคุมกันใหแกมนุษยที่เปนผูสรางปญหาและเปนผูไดรับ ผลกระทบจากปญหา รวมถึงการแกไขปญหาขยะที่เกิดขึ้นและดํารงอยูแลว ดังนั้น ผูวิจัยสนใจศึกษา เกี่ยวกับแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเปน แนวทางในการนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการวางแผนการปฏิบัติงานและลด ปริมาณขยะมูลฝอยอันจะกอใหเกิดความสมดุลและอยูรอดของชุมชนไดในระยะยาว

1.2 วัตถุประสงคการวิจัย

1.2.1 เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันของครัวเรือนในชุมชนเขตดุสิตในการจัดการขยะมูลฝอย กับการใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

1.2.2 เพื่อพิจารณาและวิเคราะหถึงลักษณะครัวเรือนที่มีผลตอการตัดสินใจในการนําหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักการ 5R มาใชในการแกไขปญหาขยะมูลฝอยของครัวเรือนในชุมชนเขต ดุสิต

1.2.3 เพื่อพัฒนาและสงเสริมวิธีการจัดการขยะมูลฝอยตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงดวยกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน

1.3 ขอบเขตของการวิจัย

1.3.1 ขอบเขตดานพื้นที่

พื้นที่ที่จะทําการศึกษาวิจัยคือ ชุมชนเขตดุสิต ประกอบดวย 5 แขวง ไดแก

แขวงดุสิต แขวงวชิรพยาบาล แขวงสวนจิตรลดา แขวงสี่แยกมหานาค และแขวงถนนนครไชยศรี

1.3.2 ขอบเขตดานประชากร

ประชากรกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาวิจัย คือ หัวหนาครัวเรือน 1.3.3 ขอบเขตดานเนื้อหา

สภาพปจจุบันในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน แนวทางปฏิบัติและการมี

สวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดการมีสวนรวมของชุมชน และแนวคิดการจัดการขยะมูลฝอย

(11)

1.4 ประโยชนที่คาดวาไดรับ

1. ขอคนพบของผลการวิจัยนี้จะเปนประโยชนอยางยิ่งในการชี้นําใหครัวเรือนอื่น ๆ ที่ยังมิได

นําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดการขยะมูลฝอย ใหสามารถนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงที่มุงเนนดานคุณธรรม ความรู และปญญามาผสมผสานและบูรณาการเขากับหลักการ 5R ที่

จะนําไปสูการลดปริมาณขยะมูลฝอยในครัวเรือนไดจริง

2. องคความรูจากการวิจัยเกี่ยวกับความสําคัญของลักษณะครัวเรือนที่สงผลตอการ ตัดสินใจเลือกใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการ 5R ในการจัดการขยะมูลฝอยใน ครัวเรือนนั้นจะเปนประโยชนอยางยิ่งในการบูรณาการเปนภาพมหภาคในระดับชุมชน กลาวคือ การสงเสริมใหสมาชิกทุกครัวเรือนในชุมชนรวมมือกันทํางานในภาคชุมชน เพื่อเปนชุมชนตัวอยาง ในการจัดการขยะมูลฝอยตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3. กระบวนการสงเสริมการมีสวนรวมโดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา บูรณาการเขากับหลักการ 5R จะสามารถยืนยันไดวามีผลตอการลดลงของปริมาณขยะมูลฝอยใน ครัวเรือนและในชุมชนไดจริง

1.5 นิยามศัพทเฉพาะ

การจัดการขยะ หมายถึง การปฏิบัติเพื่อลดปริมาณขยะตามแนวทาง 5R ไดแก การลด ปริมาณขยะ (Reduce) การนําวัสดุกลับมาใชซ้ํา (Reuse) การนําวัสดุที่ชํารุดมาซอมแซมใชใหม

(Repair) การนําวัสดุหมุนเวียนกลับมาใชใหม (Recycle) และการหลีกเลี่ยงวัสดุที่จะสรางปญหาขยะ (Reject)

ความรูความเขาใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การที่หัวหนาครัวเรือนมี

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

(12)

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาจากตํารา เอกสาร วารสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อใหสามารถไดเนื้อหาที่ครอบคลุมและชัดเจน ซึ่งประกอบดวยสาระสําคัญดังตอไปนี้

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวม

2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะ 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.1.1 ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

จุดเริ่มตนแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเปนผลจากการใชแนวทางการพัฒนาประเทศ ไปสูความทันสมัยไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแกสังคมไทยอยางมากในทุกดานไมวาจะเปนดาน เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดลอม อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมี

ความสลับซับซอนจนยากที่จะอธิบายในเชิงสาเหตุและผลลัพธได เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดตาง เปนปจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน สําหรับผลของการพัฒนาในดานบวกนั้น ไดแก การเพิ่มขึ้นของอัตรา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคตางๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอยางทั่วถึงมากขึ้น แตผลดานบวกเหลานี้สวนใหญ

กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผูดอยโอกาสในสังคมนอย แตกระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได

เกิดผลลบติดตามมาดวย เชน การขยายตัวของรัฐเขาไปในชนบท ไดสงผลใหชนบทเกิดความออนแอ ในหลายดาน ทั้งการตองพึ่งพิงตลาดและพอคาคนกลางในการสั่งสินคาทุน ความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธแบบเครือญาติ และการรวมกลุมกันตามประเพณีเพื่อการ จัดการทรัพยากรที่เคยมีอยูแตเดิมแตกสลายลง ภูมิความรูที่เคยใชแกปญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกัน มาถูกลืมเลือนและเริ่มสูญหายไป สิ่งสําคัญ ก็คือความพอเพียงในการดํารงชีวิต ซึ่งเปนเงื่อนไขพื้นฐาน ที่ทําใหคนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดําเนินชีวิตไปไดอยางมีศักดิ์ศรีภายใตอํานาจและความมีอิสระ ในการกําหนดชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อใหตนเองไดรับการ สนองตอบตอความตองการตางๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปญหาตางๆ ไดดวยตนเอง ซึ่ง ทั้งหมดนี้ถือวาเปนศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยูแตเดิม ตองถูกกระทบกระเทือน ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจจากปญหาฟองสบูและปญหาความออนแอของชนบท รวมทั้งปญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น ลวนแตเปนขอพิสูจนและยืนยันปรากฎการณนี้ไดเปนอยางดี

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัส ชี้แนะแนวทาง การดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 25 ป ตั้งแตกอนเกิด วิกฤติการณทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ํา แนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และ สามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลง

(13)

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนใน ทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให

ดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความ พอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันใน ตัวที่ดีพอสมควร ตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้

จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆ มาใชใน การวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนใน ชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรมความ ซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรับรองการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและ กวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคมสิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรือภูมิภาค หนึ่งๆ ในการผลิตสินคาและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้นๆ ไดโดยไมตองพึ่งพาปจจัยตางๆ ที่เรา ไมไดเปนเจาของ

เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่

จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง ภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางยิ่งในการ นําวิชาการตางๆมาใชในการวางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสราง พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมี

สํานึกในคุณธรรมความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญาและความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็วและกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

2.1.2 ความสําคัญของเศรษฐกิจพอเพียง

เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2540 ทรงมีพระราชดํารัสพระราชทานแกคณะบุคคล ตางๆ ที่เขาเฝาฯ ถวายชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตฯเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มเติมวา

"....คําวาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ไมมีในตํารา ไมเคยมีระบบเศรษฐกิจพอเพียง มีอยาง อื่นแตไมใชคํานี้ ปที่แลวพูดวาเศรษฐกิจพอเพียงเพราะหาคําอื่นไมไดและไดพูดอยางหนึ่งวา เศรษฐกิจ พอเพียงนี้ ใหปฏิบัติเพียงครึ่งเดียวคือ ไมตองทั้งหมด หรือแมจะเศษหนึ่งสวนสี่ก็พอ ในคราวนั้นเมื่อป

ที่แลวนึกวาเขาใจกัน แตเมื่อไมนานเดือนที่แลวมีผูที่ควรจะรู เพราะวาไดปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนามา ชานานแลวมาบอกวาเศรษฐกิจพอเพียงนี่ดีมาก แลวก็เขาใจวาปฏิบัติเพียงเศษหนึ่งสวนสี่ก็พอนั้น หมายความวา ถาทําไดเศษหนึ่งสวนสี่ของประเทศก็จะพอ ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง และทํา ไดเพียงเศษหนึ่งสวนสี่ก็พอนั้น ไมไดแปลวาเศษหนึ่งสวนสี่ของพื้นที่ แตเศษหนึ่งสวนสี่ของการกระทํา ตองพูดเขาในเรื่องเลย เพราะหนักใจวา แมแตคนที่เปนดอกเตอรก็ไมเขาใจ อาจจะพูดไมชัดแตเมื่อ กลับไปดูที่เขียนจากที่พูดก็ชัดแลววาควรจะปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียงไมตองทั้งหมด เพียงครึ่งหนึ่งก็

ใชได แมจะเปนเศษหนึ่งสวนสี่ก็พอ หมายความวา วิธีปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียงนั้น ไมตองทําทั้งหมด

(14)

และขอเติมวาถาทําทั้งหมดก็จะทําไมได?ฉะนั้นจึงพูดวา เศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติเพียงเศษหนึ่งสวนสี่

ก็ควรจะพอ และทําได อันนี้เปนขอหนึ่ง ที่จะอธิบายคําพูดที่พูดมาเมื่อปที่แลว.."

"...คําวาพอเพียงมีความหมายอีกอยางหนึ่ง มีความหมายกวางออกไปอีก ไมได

หมายถึงการมีพอสําหรับใชเองเทานั้น แตมีความหมายวาพอมีพอกิน พอมี พอกินนี้ ถาใครไดมาอยู

ที่นี่ ในศาลานี้ เมื่อเทาไหร 20,24 ป เมื่อป 2517 ถึง 2541 นี้ ก็ 24 ปใชไหมวันนั้น ไดพูดวา เราควร จะปฏิบัติใหพอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลวาเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถาแตละคนพอมีพอกิน ก็

ใชได ยิ่งถาทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดีและประเทศไทย เวลานั้นก็เริ่มจะไมพอมี พอกิน บางคนก็มี

มาก บางคนก็ไมมีเลย สมัยกอนนี้พอมีพอกิน มาสมัยนี้ชักจะไมพอมีพอกิน จึงตองมีนโยบายที่จะทํา เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อที่จะใหทุกคนมีพอเพียงได..."

"...ใหพอเพียงนี้ก็หมายความวา มีกินมีอยู ไมฟุมเฟอย ไมหรูหราก็ได แตวาพอ แม

บางอยางอาจจะดูฟุมเฟอย แตถาทําใหมีความสุข ถาทําไดก็สมควรที่จะทํา สมควรที่จะปฏิบัติ อันนี้ก็

ความหมายอีกอยางของเศรษฐกิจหรือระบบพอเพียงเมื่อปที่แลวตอนที่พูด พอเพียงแปลในใจแลวก็ได

พูดออกมาดวยวาจะแปลเปน Self-sufficiency (พึ่งตนเอง) ถึงไดบอกวาพอเพียงแกตนเอง แตความ จริงเศรษฐกิจพอเพียงนี้กวางขวางกวาSelf-sufficiency คือ Self- sufficiencyนั้น หมายความวา ผลิตอะไรมีพอที่จะใช ไมตองไปขอซื้อคนอื่น อยูไดดวยตนเอง(พึ่งตนเอง).. เปนตามที่เขาเรียกวายืน บนขาของตัวเอง (ซึ่งแปลวาพึ่งตนเอง) ...แตพอเพียงนี้ มีความหมายกวางขวาง ยิ่งกวานี้อีก คือ คําวา พอก็เพียงพอ เพียงนี้ก็พอ ดังนั้นเอง คนเราถาพอในความตองการ ก็มีความโลภนอย เมื่อมีความโลภ นอย ก็เบียดเบียนคนอื่นนอย ถาทุกประเทศมีความคิด "อันนี้ไมใชเศรษฐกิจ" มีความคิดวาทําอะไร ตองพอเพียง หมายความวา พอประมาณ ไมสุดโตง ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงนี้

อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได แตวาตองไมไปเบียดเบียนคนอื่น ตองใหพอประมาณตาม อัตภาพ พูดจาก็พอเพียงทําอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง..."

2.1.3 กรอบแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตน ในทางที่ควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชได

ตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจาก ภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา(คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ พอเพียง, 2549)

กรอบแนวคิดของสามองคประกอบหลัก อันไดแก ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุมกันที่ดี มีดังนี้

ความพอประมาณ

(1) มีคุณธรรมถูกตองดีงาม แบงปน ไมเอาเปรียบคนอื่น ไมเอาเปรียบธรรมชาติ

คุณธรรมนําชีวิต นําธุรกิจการงาน ไมเอาเงินนําหนา ปญญาตามหลัง

(2) รูจักตัวเอง รูรากเหงา ภูมิใจ เชื่อมั่น รูคุณคาที่มาของตนเอง เอกลักษณ ภูมิ

ปญญาทองถิ่น ภูมิใจในกําพืด ถิ่นฐานบานเกิด รากเหงาเผาพันธุ บรรพบุรุษ ภูมิใจในของกิน ของใช

พื้นบาน กินอยูแบบไทยๆ วิถีไทยเขาถึงคุณคามากกวายึดติดรูปแบบ

(15)

(3) มีชีวิตเรียบงาย พออยู พอกิน พอใช ไมหนาใหญ ไหลตามกระแส รูกาละและ เทศะ มีความสุขตามอัตภาพ ขนาดปริมาณที่พอดี ไมมากเกินไป ไมใหญเกินไป ไมติดแบรนด คิดแต

สรางภาพ ไมไหลตามกระแสตามโฆษณา บาบริโภค ความมีเหตุผล

(1) มีหลักวิชา กินอยูอยางมีขอมูลอยางมีคุณภาพ ตัดสินใจดวยขอมูล ความรู “รูเขา รูเรา” รูเทาทันการเปลี่ยนแปลง ไมทําตามๆ กัน รูตัวเอง รูทองถิ่น รูศักยภาพ รู “ทุนชุมชน” รูปญหา รูโลกาภิวัตน แสวงหาความรู ศึกษาในระดับสูงขึ้นตามศักยภาพของตนเอง

(2) มีแผน มีแผนชีวิต ครอบครัว แผนชุมชน แผนยุทธศาสตร แผนงานองคกร แผน งบประมาณครอบครัว รายรับ รายจาย หนี้สิน แผนการลงทุน แผนเศรษฐกิจพอเพียง

(3) เปนมืออาชีพ คุณภาพ มั่นคง ยั่งยืน (quality, consistency, sustainability)

“อิทธิบาทสี่” (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) ใจรัก รูจริง รูรอบ รูลึก ทําดีมีคุณภาพ ดวยความ สม่ําเสมอ

การมีภูมิคุมกันที่ดี

(1) ระบบชีวิตที่ดี ครอบครัวอบอุน มีความมั่นคงในชีวิต ลูกไดรับการเลี้ยงดูที่ดี ลูกมี

การศึกษาที่ดี

(2) ระบบเศรษฐกิจ สังคมชุมชนทองถิ่นที่ดี ชุมชนเขมแข็ง มีระบบเศรษฐกิจชุมชน สวัสดิการชุมชน เครือขายชุมชน เครือขายเศรษฐกิจชุมชน วิสาหกิจชุมชน เกษตรผสมผสาน สหกรณ

SMEs เนนการผลิตเพื่อบริโภคในทองถิ่น กอนพึ่งตลาดภายนอกหรือสงออก

(3) ระบบการจัดการองคกรที่ดี องคกร หนวยงานรัฐ เอกชน รัฐวิสาหกิจ มีธรร มาภิบาลบรรษัทระบบการจัดการทีดีมีผูนําและผูตามที่ดี ผูนําสรางแรงบันดาลใจ ทําใหทุกคนใจดี ใจ กวาง ใจสู ใจถึง (เขาใจ- เขาถึง)

เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้นตองอาศัยทั้ง ความรู และคุณธรรมเปนพื้นฐานกลาวคือ

(1) เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ที่เกี่ยวของอยาง รอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

(2) เงื่อนไขความธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความชื่อสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

แนวทางปฏิบัติและผลที่คาดวาจะไดรับจากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดานทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี ดังแสดงในภาพ 1

(16)

ภาพ 1 กรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ที่มา: คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง (2549) 2.1.4 ระดับของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

จนถึงวันนี้ คนบางกลุมยังเขาใจวา เศรษฐกิจพอเพียงคือเรื่องของการ "พึ่งตนเอง"

ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษวา Self-sufficiency แตคําวา พอเพียง ในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมี

ความหมายกวางกวาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับที่เลี้ยงตัวเองไดบนพื้นฐานของความประหยัดและการ ลดคาใชจายที่ไมจําเปน เรียกวา เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน สวนเศรษฐกิจพอเพียงในระดับที่มี

การรวมตัวกัน เพื่อรวมกันดําเนินงานในเรื่องตางๆ มีการสรางเครือขายและการขยายกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ โดยประสานความรวมมือกับภายนอก เรียกวาเศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา (พิพัฒน

ยอดพฤติการ, 2549)

ดังนั้น เศรษฐกิจพอเพียงจึงมิใชแคเพียงเรื่องการพึ่งตนเองโดยไมเกี่ยวของกับใคร และมิใชแคเรื่องของการประหยัด แตยังครอบคลุมถึงการของเกี่ยวกับผูอื่น การชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน และกันแทจริงแลวเศรษฐกิจพอเพียงสามารถจําแนกไดเปน 3 ระดับ ดังนี้

(1) เศรษฐกิจพอเพียงระดับที่หนึ่ง เปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เนนความ พอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวคือ การที่สมาชิกในครอบครัวมีความเปนอยูในลักษณะที่

สามารถพึ่งพาตนเองได สามารถสนองความตองการขั้นพื้นฐาน เชน ความตองการในปจจัยสี่ของ ตนเองและครอบครัวได มีการชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน มีความสามัคคีกลมเกลียว และมีความ พอเพียงในการดําเนินชีวิตดวยการประหยัดและการลดคาใชจายที่ไมจําเปน จนสามารถดํารงชีวิตอยู

ไดอยางมีความสุขทั้งทางกายและใจ

Referensi

Dokumen terkait

98 ปญหาเกี่ยวกับการเยียวยาความเสียหายใหแกผูไดรับความเสียหาย จากการ ใชบริการวิชาชีพเภสัชกร การทํางานของเภสัชกรทั้งในรานขายยาและ ในโรงพยาบาล……… 102

ดานเนื้อหาขอมูลที่เกี่ยวของกับศึกษา ไดแก ขนาดของการจับถือและพกพาของผูสูงอายุ ปญหาในการรับประทาน ยาของผูสูงอายุ และพฤติกรรมของผูสูงอายุ วิธีการดําเนินงานวิจัย

บริหารโรงเรียนดานตาง ๆ เชน การจัดตั้งและจัดสรรงบประมาณ การจัดทําแผนปฏิบัติการ การรายงาน ขอมูล การบันทึก การรวบรวม การประมวลขอมูล ตลอดจนการประยุกตใชขอมูล เปนตน ซึ่งในปจจุบัน

การเลือกเมนูหลักจากโปรแกรมสามารถเลือกได 3 เมนู ดังนี้ 1.1 เมนู File ประกอบดวยเมนูยอย ไดแก  เมนู New ใชสำหรับสรางไฟลใหม  เมนู Open ใชสำหรับเปดไฟลเดิมที่มีอยูแลว 

9 7.ทา บัวแยม 8.ทาบัวบาน 9.ทาบัวคลี่ 10.ทาบัวตูม 11.ทาแมงมุมชักใย 12.ทาจับระบํา ทารําเหลานี้สืบได วาเปนทาที่เรียกตางกันออกไปก็มี แตกตอเปนทายอย ๆ ออกไปก็มี เชน

ไปจากบริการสระวายน้ํา ไดแก บริการอาบน้ําตัดขน ราน Pet shop ขายเสื้อผาและเครื่องประดับสุนัข บริการสนามหญาวิ่งเลน โรงแรมรับฝากเลี้ยงสุนัข และบริการสปาสุนัข

ขอเสนอแนะของประชาชนเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกนายกเทศมนตรีฯ ไดแก ผูสมัครควร พัฒนาตนเองดานการศึกษา เอาใจใสสารทุกขของชาวบาน ผูสมัครรับเลือกตั้งควรนําเสนอนโยบายที่เปน

กรณีศึกษา เนื้อความ มิ้ว กรณีศึกษาเติบโตทามกลางสภาพแวดลอมที่มีคนที่ประกอบอาชีพเปนนางโชวเปน จํานวนมาก และมีความฝนถึงการไดแตงตัวสวยๆ ไดแสดงความเปนตัวเองออกมาให