• Tidak ada hasil yang ditemukan

มายาภาพการพัฒนา

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "มายาภาพการพัฒนา"

Copied!
1
0
0

Teks penuh

(1)

+ ทุนทางส ังคมของไทยใน บริบทของโลก:การปร ับจุดยืน

ผศ .ชมพู โกติรัมย์

เมื่อสังคมโลกก ้าวสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงตามกระแส โลก ที่กล่าวขานว่าโลกาภิวัตน์ซึ่งมีลักษณะแข่งขัน มีความ ซับซ ้อนและเชื่อมโยงประเทศต่าง ๆ เข ้าสู่ระบบเดียวกัน ระบบดังกล่าวได ้กลายเป็นทั้งโอกาสและในขณะเดียวกันก็

เป็นภัยคุกคาม สืบเนื่องโลกแห่งธุรกรรมสมัยใหม่ มีการปรับ ระเบียบเศรษฐกิจใหม่ มีการพัฒนาทางด ้านเทคโนโลยี และ ย ้ายฐานการผลิตตามกลไกการค ้าเสรีเพื่อความได ้เปรียบใน เวทีการค ้าโลก เมื่อประเทศกำาลังพัฒนาคือกำาลังพัฒนาตาม นัยระบบโลก เช่น ไทยได ้เปิดประตูสู่สังคมโลกในฐานะเป็น ฐานการผลิตและรองรับการขยายตัวของทุนจากต่างชาติ ซึ่ง เป็นภาพรวมของระบบเศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน ได ้มีผลก ระทบต่อทุนชาติ - ท ้องถิ่น ตลอดจนทรัพยากร อาจกล่าว ได ้ว่าสถานการณ์ของโลกปัจจุบันกำาลังตกอยู่ในกฏแห่งกรรม ร่วม ตามที่เสน่ห์ จามริก กล่าวไว ้เพราะเป็นปรากฏการณ์ที่

มวลมนุษยชาติเผชิญร่วมกันอย่างทั่วถึงกันไร ้พรมแดน หาก จะนำาแนวคิด “ กฏแห่งกรรมร่วม” สะท ้อนนัยแห่งการ พัฒนาของไทย ก็จะพบมายาภาพในรูปของการครอบงำาทุน จากต่างชาติ ระบบนิเวศได ้ถูกทำาลาย การอพยพแรงงาน จากชนบทสู่เมือง เหล่านี้เป็นต ้นล ้วนเป็นภาพเคลื่อนไหว ที่มีชีวิตของโลก ที่ถูกขับเคลื่อนด ้วยระบบโลก ใน รูปของบูรณาการทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (Ecnomic integretion)เครือข่ายเชื่อมโยงทางสังคม(Social

networking)และระบบติดต่อด ้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology)

ทฤษฎีที่เรียกกันว่าระบบโลก หรือ World System

เหตุผลที่ใช้ ทฤษฎีนี้ก็เนื่องมาจากให้ ภาพมุมกว้าง และ เข้าใจคำาอธิบายเกี่ยวกับความเลื่อมลำ้าหรือการกระจาย ทรัพยากรที่ไม่เท่าเทียมกัน

1. เมื่อเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้นในโลกตะวันตก ซึ่งหมายถึงการ ปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีได้นํามาซึ่งการเกิดขึ้นของการผลิตแบบ

อุตสาหกรรมขึ้นในยุโรปตะวันตกผลที่ตามมาก็คือการผลิตสินค้าเป็น จํานวนมาก

(2)

2. การผลิตสินค้าได ้มากขึ้นดังกล่าวส่งผลให้ ตลาดภายใน ประเทศไม่ สามารถรองรับผลผลิตนั้นไดจําเป็นต้องหันไปหาตลาด ต่างประเทศที่จะระบายสินค้ามากนี้ จึงเกิดขบวนการที่ประเทศที่มี

การปฏิวัติอุตสาหกรรม คือ อังกฤษ และ ฝรั่งเศส ออกไปแสวงหา อาณานิคมของตนในเอเชียและอาฟริกา

3 อย่างไรก็ตามลําพังแต่ ไปยึดดินแดนในเอเชียและอาฟริกาไม่เพียง พอ เนื่องจากดินแดนเหล่ านั้น ในแง่ ทางเศรษฐกิจนั้น ยังมีลักษณะ เป็นการผลิตแบบพอยังชีพ

4. ดังนั้นประเทศเจ้าอาณานิคม จึงต้องแปรเปลี่ยนดินแดนที่ตัวเองยึด ได จากคนพื้นเมือง เป็นระบบเศรษฐกิจการค้า

ผลก็คือ ประเทศแกนกลางมั่งคั่ง รํ่ารวย ประเทศรอบนอกหรือชาย ขอบยากจนตรงนี้เองสิ่งที่

เรียกว า "ประเทศพัฒนาแล้ ว" กับ "ประเทศด้วยพัฒนา" จึงเกิด ขึ้น เพราะฉะนั้นมาถึงตรงนี้ระบบโลก ก็ได เกิดเป็นประเทศแกนกลาง หรือประเทศพัฒนาแล้วประเทศกึ่งรอบนอกหรือ NICS และ ประเทศ รอบนอก คือ ประเทศด้อยพัฒนาขึ้น

คือ1

น ัยการพ ัฒนาของไทย

ประเทศไทยปัจจุบันได ้ตกอยู่ในกระแสอารยธรรมโลก ในรูปของความเจริญสมัยใหม่ หรือภาวะที่เรียกว่า “ทันสมัย”

ภาวะดังกล่าวได ้ถูกกระทำาให ้มีคุณค่าประดุจดังเป็นอุดมคติที่

ประเทศกำาลังพัฒนาทั้งหลายเฉกเช่นไทยไปให ้ถึงในรูปของ การพัฒนา สู่อารยธรรมเดียวกัน อารยธรรมอันเป็นแม่บท ของโลก ซ ึ่งประกอบไปด ้วย การพัฒนาที่เน ้นไปทาง วัตถุนิยม การกระตุ ้นให ้เกิดการบริโภคนิยม และการค ้า การ เงินเสรีที่มาพร ้อมกับนัยแห่งการพัฒนาแห่งยุคปัจจุบัน ผล พวงจากการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจที่ผ่านมา เน ้นหนักในภาค ส่วนอุตสาหกรรมเป็นด ้านหลัก อุตสาหกรรมที่อาศัยความ มหัศจรรย์ของเทคโนโลยีนี้ได ้เพิ่มผลผลติเพื่อป้อนสู่ตลาด อย่างกว ้างขวาง ในม ิติทางสังคมเทคโนโลยีได ้เร่งการ

1 1.เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช .การกระจายทรัพยากรที่ไม่ เท่ าเทียมกัน และการใช ทรัพยากรธรรมชาติ

เกินขอบเขต(human.cmu.ac.th)

2.สุธี ประศาสน์เศรษฐ.วิถีสังคมไทย.กรุงเทพ ฯ : เรือนแก ้วการพิมพ์ , 2544 : หน ้า 6.

(3)

บริโภคตามแรงกระตุ ้นของตลาด การยึดถือเงินตราเป็นตัววัด ความเจริญทางเศรษฐกิจ การให ้ความสำาคัญกับธุรกิจภาค เอกชน ได ้เป็นตัวจักรขับเคลื่อนในรูปของยุทธศาสตร์และ นโยบายพัฒนา เส ้นทางแห่งการพัฒนาดังกล่าวได ้สร ้าง ความแปลกแยกในลักษณะแยกส่วนระหว่างภาคอุตสาหกรรม กับภาคเกษตรกรรม

รูปแบบการพัฒนาเพื่อความก ้าวหน ้าทางสังคมและ เศรษฐกิจตามนัยแห่งอุตสาหกรรมนั้น ยิ่งสะท ้อนภาพแห่ง การพึ่งพาจากภายนอกตามลำาดับการเร่งพัฒนา กล่าวได ้ว่า วัฎจักรแห่งการพึ่งพา - กับการพัฒนาได ้ดำารงคงอยู่ต่อ เนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 – 7 ภาพลักษณ์ดังกล่าวได ้ประจักษ์ชัดถึงความอ่อนแอทาง เศรษฐกิจ การเป็นหนี้ IMF (ปัจจุบันได ้ชำาระหนี้หมดแล ้ว) การขาดความเข ้มเข็งทางเศรษฐกิจระดับล่าง (ชาตินิยม) ซึ่งภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจนั้นเป็นไปตามระบบเศรษฐกิจ ของโลกที่มีระบบพึ่งพาระหว่างประเทศเมื่อส่วนหนึ่งประสบ ปัญหาย่อมส่งผลต่อเนื่องตามยุคสมัยของโลกที่ถูกผนวกเป็น หน ึ่งเด ียวในเวลาเด ียวก ันไร ้กาลเทศะ ( Time and Space) เรียกว่าโลกถูกขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันภาย ใต ้ระบบโลกาภิวัฒน์ 2

สังคมโลกในระบบโลกาภิวัฒน์ นัยแห่งการพัฒนาของ ไทยนั้นได ้ฉายภาพการด ้อยพัฒนาต่อเนื่อง ภาพแห่งอดีตนับ ว่าเป็นความท ้าทายบนปลายทาง แห่งการพัฒนาที่ปัจจุบัน ภายใต ้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9-10 โดยมีปรัชญาเศรษฐก ิจพอเพียงเป็นอุดมการณ์แห่งการ พัฒนาในมิติใหม่ประเด็น จึงอยู่ที่ในกระแสการเปลี่ยนแปลง ของโลกปัจจุบัน เศรษฐกิจสังคมไทยจะเติบโตอย่างยั่งยืน อย่างไร เพื่อให ้ไทยมีศักยภาพแห่งการพึ่งตนเองอย่าง แท ้จริงมิใช่เป็นแค่เพียงมายาภาพ หรือทางผ่านในระบบ ทุนนิยมโลกเท่านั้น แผน ฯ ฉบับที่ 9-10 น่าจะถือได ้ว่าเป็น จุดเริ่มต ้นในบริบทแห่งการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้เนื่องจากการพัง ทลายจากเศรษฐกิจ สู่สังคมไทยเรานั้น ได ้สะท ้อนให ้เห็น ความอ่อนแอในหลายมิติด ้วยกัน การให ้ความสำาคัญในภาค เศรษฐกิจไปด ้านเดียว ได ้ทำาให ้เกิดเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่ไม่

2

(4)

สัมพันธ์กับวิถีทางของวัฒนธรรมและสังคมตามลำาดับ วิถีของ สังคม ในส่วนที่สัมพันธ์กับเศรษฐกิจนั้น คือวัฒนธรรมการ บริโภคของไทยเรามีลักษณะเรียบง่าย มักน ้อย ค่อยเป็น ค่อยไป เอื้อเฟื้อมีเหลือเผื่อไปยังคนข ้างเคียง เป็นต ้น ลักษณะเหล่านี้ได ้เกิดความแปลกแยกจากวัฒนธรรมบริโภค นิยม (วัตถุนิยม) ซึ่งมีลักษณะแข่งขันกันสูงเพื่อครอบครอง วัตถุด ิบ รวมทั้งความได ้เปรียบทางการค ้า การบริโภค เทคโนโลยี แฟชั่น สินค ้า สุดกำาลังที่ภายในประเทศจะรอ ปรับการผลิตได ้ จึงนำาไปสู่การสั่งเข ้าจากต่างชาติ ภาวะแห่ง ความอ่อนแอทางเศรษฐกิจเกิดจากความอ่อนล ้าทางสังคมใน มิติทางวัฒนธรรม ค่านิยมจึงไม่สามารถดำารงคงไว ้ซ ึ่งอัต ลักษณ์เฉพาะของชาต ิได ้ จ ึงนำาไปสู่การพังทลายทาง เศรษฐกิจตามไปด ้วย ในขณะเดียวกันองค์ความรู ้ของสังคม ไทยเราได ้ถ ูกครอบงำา โดยองค ์ความรู ้จากภายนอก ภายนอกอันเป็นสากล ความเป็นสากลของสังคมมหาอำานาจ ทางเศรษฐกิจ ในส่วนของการบริโภคข ้อมูลข่าวสารอันเป็น ข ้อมูลทางเศรษฐก ิจและสังคมซ ึ่งเป็นต ้นทุนแห่งความรู ้ ความรู ้ที่เป็นทุนทางเศรษฐกิจและสังคมเช่นนี้ ได ้ซึมซับใน องค์มติของไทยจนแทบจะเป็นเอกมติ ซ ึ่งสะท ้อนให ้เห็น แนวทางการพัฒนาของไทยเป็นไปตามนัยสากลซึ่งได ้กล่าว ไปบ ้างแล ้ว จากแนวคิดองค์ประกอบหรือองค์ของวัฒนธรรม ตามที่กล่าวมาข ้างต ้น สามารถแยกประเด็นให ้ชัดเจน ดังนี้

1. องค์มติ การได ้รับองค์ความรู ้จากภายนอก = นัย สากล

2. องค์พิธี รูปแบบวิถีชีวิตและกิจกรรมของสังคม = วิธีเลือกปฏิบัติ

3. องค์วัตถุ รูปแบบการเลือกบริโภคและนัยแห่ง การพัฒนา = วัตถุนิยม

4. องค์การห น่ว ยง า น ,อ ง ค ์ก า ร ก า ร จัด ก า ร ส ัง ค ม เศรษฐกิจ = นัยแห่งการพัฒนา

เมื่อองค์ความรู ้ของสังคมถูกครอบงำาจากภายนอกได ้มีผลต่อ แนวทางการเลือกใช ้ชีวิตตามรูปแบบที่เป็นแม่บทและเมื่อกาล ผ่านไปกลายเป็งองค ์กรมารองรับองค ์ความรู ้นั้น นี่ค ือ กระบวนการของนัยการพัฒนาอันเป็นสากล อีกปัจจัยหนึ่งที่

สัมพันธ์กับเศรษฐกิจ คือ การเมือง ในฐานะกำาหนดใช ้

(5)

ยุทธศาสตร์เกี่ยวกับเศรษฐก ิจโดยตรง ซ ึ่งเก ิดจากกลุ่ม อำานาจนิยมเป็นแก่นนำาหลัก ควบคุมระบบสังคมการเมืองของ รัฐ บางช่วงเวลากลุ่มนี้ก็เข ้ายึดอำานาจปกครอง โดยการทำา รัฐประหาร และในบางสถานการณ์ถ ้าประชาชนมีพลังเข ้ม แ ข ็ง ก ็เ ปิด โ อ ก า ส ใ ห ้ป ร ะ ช า ช น ม ีส ่ว น ร ่ว ม ใ น ร ะ บ บ ประชาธิปไตย กลุ่มอำานาจนิยม เป็นผู ้กุมอำานาจรัฐอย่าง แท ้จริง ขัดขวางความพยายามของสถาบันทางการเมืองฝ่าย พลเรือน และกลุ่มพลังประชาชนต่าง ๆ ที่จะแสดงบทบาทใน การตัดสินใจและกำาหนดนโยบายเศรษฐกิจสังคม ดังจะเห็น ได ้ว่า มีกฏหมายอยู่บางฉบับเป็นอุปสรรคการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะแนวทางเป็นอิสระจากการชี้นำาจากองค์กรระหว่าง ประเทศ 3 โดยประเด็นนี้ชี้ให ้เห็นความไม่อิสระในยุทธศาสตร์

พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ประดุจดังภาพที่มัว ซึ่งไม่สามารถ สะท ้อนความจริงหลังภาพนั้นได ้ การที่ไทยประกาศปลดหนี้

กองทุนระหว่างประเทศ ( IMF ) เมื่อ 31 กรกฎาคม 2546 นับจากนี้ไปจะทำาให ้ไทยเรามีอิสระในการกำาหนด นโยบายเศรษฐกิจบนเส ้นทางที่เหมาะสมกับสภาพสังคมอัน เป็นจุดแข็งของเรา

ไทยในระบบโลก

หากจะมองการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทยเหมือน กับการเด ินทาง ก็เปรียบได ้กับการที่เราก ้าวสู่ระบบการ แข่งขันในเวทีโลกที่มีระบบทุนนิยมโลกคอยกำากับอยู่เบื้อง หลัง โดยเริ่มจากทศวรรษแห่งการพัฒนานับได ้ว่าเป็นช่วง ของการแผ่อิทธิพลขององค์การระหว่างประเทศ ซึ่งมีกลยุทธ์

ในการควบคุมประเทศโลกที่สามอย่างซับซ ้อนและแยบยล กว่ายุคล่าอาณานิคม นั่นคือ แทนที่จะใช ้กำาลังเข ้ายึด – ปราบ กลับอ ้างเหตุผล “ การพัฒนา” เพื่อกำาหนดแนวทาง บริหารและใช ้รูปแบบของ “ การช่วยเหลือ” เพื่อดึงประเทศ ยากจนรวมทั้งประเทศไทยเข ้าอยู่ภายใต ้โครงข่ายของอำานาจ และทำาให ้ต ้องพึ่งประเทศศูนย์กลางทางการ เงิน การค ้า

3.ศุภชัย เจริญวงศ์ . ถอดรหัสการพัฒนา , กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์เดิอนตุลา , 2544 : หน ้า 39

4.สุธี ประศาสน์เศรษฐ . วิถีสังคมไทย . กรุงเทพ ฯ : เรือนแก ้วการพิมพ์ , 2544 : หน ้า 8

(6)

และเทคโนโลยี 4 สุดบนเส ้นทางเดินนี้ คือ ตกอยู่ภายใต ้ อำานาจของประเทศศูนย์กลางทุนนิยมแม ้แต่นโยบายการเมือง ก็ปรับให ้สอดคล ้องกับการเมืองโลก

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ในบริบทของโลกหรือ สภาพเป็นจริงของไทย

หลังจากปี พ.ศ. 2500 เมื่อชนชั้นทางอำานาจประสาน ความร่วมม ือกับนักว ิชาการได ้ผลักดันให ้เป็นนโยบาย เศรษฐกิจแบบเสรีและระบบการค ้าซึ่งกลไกตลาดเป็นเครื่อง มือการปรับนโยบายในครั้งนั้นเพื่อ การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ ภายใต ้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ซึ่งดำาเนินนโยบายไม่แตกแถวจากกฎระเบียบเศรษฐกิจโลก เมื่อสำารวจการพัฒนาที่ไทยเดินตามปริทบของโลกมากำาหนด เป็นแผน จะเห็นว่าประส ิทธิภาพการลงทุนและอัตราการ เติบโตทางเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมจะทำาให ้เกิดการออม และการจ ้างงานในภาคเกษตรกรรมในฐานะเป็นแรงงาน สำารองและเป็นแหล่งวัตถุดิบในการผลิต ผลของการขยายตัว ใ น ภ า ค อ ุต ส า ห ก ร ร ม จ ะ ฉ ุด ใ ห ้ภ า ค เ ก ษ ต ร ม ีก า ร เ พ ิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตและการลงทุน ภาพลักษณ์การพัฒนา จึงมุ่งในภาคอุตสาหกรรมเป็นอันดับแรก หลังจากนั้นจะ พัฒนากระจายไปยังภาคชนบท ซึ่งถือว่าเป็นระบบเศรษฐกิจ จุลภาค ชนบทจึงกลายเป็นฐานสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมที่

ไม่มีบทบาทต่การสร ้างความเติบโตทางเศรษฐกิจเท่าที่ควร โครงการที่ดำาเนินในชนบทเช่น การสร ้างเขื่อน ชลประทาน เป็นต ้น โครงการดังกล่าวล ้วนเป็นโครงสร ้างพื้นฐานแก่ภาค อุตสาหกรรม มากกว่าจะเป็นการแก ้ปัญหาภาคเกษตรใน ช น บ ท 3 ปัจ จ ุบ ัน ช น บ ท ใ น ก ร ะ แ ส โ ล ก า ภ ิว ัฒ น ์ก ็ไ ม ่ เปลี่ยนแปลงไปมากนัก ยังคงปรากฎภาพของการอพยพ แรงงานสู่ภาคอุตสาหกรรม และภาพด ้อยพัฒนา ประเด็นนี้

จะสานต่อเนื่องในกระแสการที่ไทยอ ิสระจากหนี้กองทุน ระหว่างประเทศ และการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมตามปรัชญา แผน ฯ ฉบับที่ 9 ตามที่กล่าวไปแล ้วได ้อย่างไร

ภาวะไร้ดุลยภาพของโครงสร้างสะท้อนมายาภาพการ พ ัฒนา

4

(7)

ทางออกของการพัฒนาควรลดความเหลื่อมลำ้าระหว่าง เมืองกับชนบทและลดความถ่างห่างของชนชั้นกลางผู ้ทำาการ ผลิตในเมืองกับผู ้ใช ้แรงงาน ทั้งนี้ควรเสริมความเข ้มแข็งใน ภาคเกษตรกรรมเพื่อมิให ้คนส่วนมากของประเทศถูกขับออก ไปอยู่ขอบริมของเส ้นทางการพัฒนาดังเช่นอดีตในยุคเร่ง พัฒนาประเทศสู่ความเป็นอุตสาหกรรม ในสถานการณ์

ปัจจุบันเช่นนี้ หากเราไม่กำาหนดทางเดินใหม่ เราคงยังอยู่

กับความไม่สมดุลในโครงสร ้างทางเศรษฐกิจที่เงินออมของ ประเทศไม่เพียงพอแก่การลงทุนรวม

( Resource Gap) ว ิกฤตการทางการคลัง ( Fiscal crisis) เป็นต ้น อ ีกประกา รหน ึ่งคว ามไม ่สมด ุล ของ โครงสร ้างทางอำานาจการเมืองกับเศรษฐกิจมีผลสืบเนื่องจาก นัยแห่งการพัฒนาในช่วงที่ผ่านมาได ้เอื้ออำานวยให ้เกิดการ รวมกลุ่มอำานาจเศรษฐก ิจอยู่ในกลุ่มทุนขนาดใหญ่ ส ่วน อำานาจทางการเมืองนั้นก็ได ้รวมศูนย์กับอยู่ในกลุ่ม 5 ดังนั้นการ จะพัฒนาสังคมให ้เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจนั้นต ้องสัมพันธ์

ระหว่างเศรษฐกิจ กับการเมืองอย่างเหมาะสมหากจะประยุกต์

ศาสตร์เข ้าด ้วยกันก็คงเป็นเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ ให ้ได ้องค์ความรู ้ที่ครอบคลุมในหลายมิติเข ้า ด ้วยกัน เพื่อให ้เกิดภาพแห่งการพัฒนาที่ชัดเจน

การศึกษา เพื่อแสวงหาทางออกและสร้างทุนทางส ังคม การพัฒนาประเทศ เมื่อส่วนล่างซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ทั้ง ใ นภา คเม ืองแ ละชนบท จะต ้องม ีโครงสร ้า งกา รเม ือง เศรษฐกิจ และสังคมขั้นรากฐานที่มีความสอดคล ้องโดย เฉพาะสังคมระดับรากฐานควรอยู่กรอบแห่งการพัฒนาแทนที่

มุ่งเป้าหมายไปยังเศรษฐกิจด ้านเดียว ทั้งนี้เพื่อประกันคุณค่า ของวัฒนธรรมกลับมาทำาหน ้าที่ขับเคลื่อนวิถีทางสังคม ด ้วย ภูมิปัญญาไทยอันเป็นการสร ้างองค์ความรู ้ของไทยในกระแส องค์ความรู ้จากตะวันตก มีความเป็นจริงมากน ้อยเพียงใด ที่

ระบบการศึกษาไทยกำาลังเป็นแหล่งปลูกฝังค่านิยมให ้อนุชน หันไปหมกมุ่นอยู่กับสินค ้าวิชานำาเข ้าเป็นสรณะไม่น ้อยหน ้าไป กว่าบริโภคนิยมเท่าใดนัก ความจริงแล ้วสินค ้าวิชานำาเข ้ากับ ลัทธ ิบร ิโภคนิยมสัมพันธ์กัน เพราะทั้งสองปัจจัยนั้นได ้

5เสน่ห์ จามริก. ฐานคิดสู่ทางเลือกใหม่ของสังคมไทย. กรุงเทพ ฯ : โครงการวีถี

ทรรศน์ , 2541 . หน ้า 51

(8)

สะท ้อนภาพจิตสำานึกรับรู ้ และการเรียนรู ้ภายใต ้กระแส เศรษฐกิจการเมือง และการศึกษาในปัจจุบันนี้ 5อาจจะกล่าว ได ้ว่าการเป็นอาณานิคมทางวิชาการเพราะองค์ความรู ้ภายใต ้ ภูมิปัญญาไทย ไม่ได ้รับความสนใจให ้มีการเรียนรู ้อย่างเป็น ระบบนั่นเอง ในสภาวะการณ์ของสังคมเช่นนี้ ได ้ส่งเสริม ให ้คนรุ่นใหม่ไหลตามวัฒนธรรมตะวันตกและเปิดโอกาสให ้รับ การเรียนรู ้จากข ้อมูลที่กว ้างไกลแต่ความคับแคบของจิต วิญญาณ นับวันจะแคบลงทุกทีในส่วนองค์ความรู ้ที่สร ้าง วัฒนธรรม เพื่ออำานวยความสะดวกสบายแก่การดำารงชีวิตแต่

คุณค่าของชีวิตนับวันเสื่อมลงเพราะไปมุ่งค่าที่วัตถุแนวทาง สร ้างองค์ความรู ้กับท่าทีความเป็นอิสระและคัดสรรค์วิทยาการ และนวัตกรรมจากภายนอกที่เหมาะสมน่าจะเป็นทางออกที่

เกิดจากการเรียนรู ้ การเรียนรู ้ ภายใต ้ภูมิปัญญาไทยประยุกต์

กับวิทยาการจากภายนอก

ฐานคิดสร้างมายาภาพการพ ัฒนา

ความก ้าวหน ้าทางวิทยาศาสตร์ได ้กลายเป็นฐานสำาคัญ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งยุคปัจจุบัน หรือกล่าวอีก นัยว่ายุคแห่งวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ได ้กลายเป็นฐานความคิด นำาทางเศรษฐกิจสังคม และแนวคิดทางทฤษฏีที่ผิดพลาด สามประการซึ่งสัมพันธ์กับมายาภาพแห่งการพัฒนาในช่วง หลังตามลำาดับกล่าวคือ

1. มนุษย์เป็นนายเหนือธรรมชาติ แนวคิดนี้ ทำาให ้ มนุษย์ตีค่าธรรมชาติเป็นเพียงวัตถุดิบที่จะถูกแปรรูปเป็นสินค ้า เพื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ กล่าวอีกนัยหนึ่ง แนวคิดนี้

สัมพันธ์กับตลาดเสรี เนื่องจากการเปิดตลาดการค ้าการ ลงทุนก็เพื่อแสวงหาวัตถุดิบใหม่ ๆ แนวคิดนี้สะท ้อนให ้เห็น ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ด ้วยความร่อยหรอของทรัพยากร เพราะยิ่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากเพียงใด ทรัพยากร ทางธรรมชาติถูกแปรรูป และถูกทำาลายเป็นเงาตามตัว

2. แนวคิดของชาร์ล ดาวิน เกี่ยวกับการขยายตัวของ สังคมต ้องอาศัยส่วนต่าง ๆ ของสังคมที่เข ้มแข็ง แนวคิดนี้

สะท ้อนให ้เห็น ความอยู่รอดของผู ้เข ้มแข็ง และมีความ เหมาะสมที่สุด ซึ่งสัมพันธ์กับการแข่งขันในยุคสมัยการค ้าเสรี

ผู ้ที่มีความพร ้อมเข ้มแข็งเท่านั้น จึงจะเหมาะสมที่สุดสำาหรับ ระบบแข่งขันเช่นนี้ แนวคิดนี้เมื่อแปลออกเป็นรูปธรรมทาง ธุรกิจแล ้วย่อมหมายถึง ผู ้มีอำานาจทางเศรษฐกิจเท่านั้นเป็นผู ้

(9)

เหมาะสมแห่งยุคสมัย ในขณะผู ้ที่อ่อนแอทางเศรษฐกิจซ ึ่ง เป็นคนส่วนมากของประเทศที่ไม่สามารถต่อกร ต่ออำานาจ ทางเศรษฐกิจได ้ นับว่าเป็นผู ้ตายจากสังคม และถูกขับออก จากระบบธุรกิจสมัยใหม่ และกลายเป็นชนชั้นล่างของสังคม

3. แนวคิด ความก ้าวหน ้า แนวคิดนี้สัมพันธ์กับการ ครอบครองธรรมชาติและแข่งขันระหว่างเพื่อนมนุษย์ อันเป็น ฐานความคิดผลักดันให ้เกิดความก ้าวหน ้าด ้านเศรษฐกิจและ สังคม แห่งยุคปัจจุบัน จากแนวคิดข ้างต ้น ได ้นำาความตีบ ตันทางเศรษฐกิจอันเป็นปัญหานำาไปสู่ความวิกฤติในปัจจุบัน สร ้างความวิตกกังวลถึงระบบทุนนิยมสมัยใหม่ในฐานะเป็นก รอบของชีวิตเศรษฐกิจสังคมและการเมืองโลกปัจจุบันระบบ ทุนนิยมจำาเป็นต ้องอาศัยสัญชาตญาณความโลภของมนุษย์

เป็นแรงกระตุ ้นผลักดันให ้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจเพื่อ ว่าจะได ้มีโอกาสตักตวงผลประโยชน์และสุขสะดวกของชีวิตอ ยางเต็มกำาลังสามารถของมนุษย์ แต่ความโลภของมนุษย์

เป็นสิ่งที่ไม่อาจกำากับควบคุมให ้อยู่ในความพอดีได ้ เมื่อเป็น เช่นนี้พลังเงินพร ้อมพลังอว ิชชาจึงมีแนวโน ้มละครอบงำา ควบคุมชีวิตความเป็นไปในสังคม อย่างกว ้างขวางและลึกซึ่ง ขึ้นตามลำาดับ ซึ่งหมายถึง โลกเสรีกำาลังจะผันตัวเองออกไป สู่อำานาจนิยมอย่างสมบูรณ์ และสังคมเสรีจะถดถอยลงไปเป็น สังคมไพร่และทาสกันใหม่ 6 ในยุคพัฒนาที่เอาเศรษฐกิจ ระบบทุนนิยมเป็นเป้าหมายหลัก

กระบวนท ัศน์ใหม่เพื่อทางออก

หากเราแสวงหากระบวนทัศน์ใหม่ เพื่อเสนอทางออก เท่ากับเป็นการพยายามฟื้นฟูภูมิปัญญา และคุณค่าทาง ศาสนาที่เคยมีมาในวิถีชีวิต ดั้งเดิมของชนชั้นในชนบท แต่ก็

ไม่ได ้หมายความว่าจะหวนกลับสู่อดีต หากโดยสาระแล ้ว เรียนรู ้ที่จะพัฒนาพื้นฐานและการพึ่งตนเองของภาคเกษตร และชนบทอย่างแท ้จริงแทนที่เป็นฝ่ายอยู่ภายใต ้การอุ ้มชูและ ความอุดมสมบูรณ์ของภาคเศรษฐกิจอื่น

แนวคิดในการพึ่งตนเองแบ่งได ้ 3 ระดับดังนี้

1.ระดับปัจเจกชนและระดับชุมชน 2. ระดับภูมิภาค

6 เสน่ห์ จามริก. ฐานคิดสู่ทางเลือกใหม่ของสังคมไทย. กรุงเทพ ฯ : โครงการวีถี

ทรรศน์ , 2541 . หน ้า 51

(10)

3. ระดับชาติ และเชื่อมโยงกับต่างประเทศ

ลักษณะสามระดับนั้นสัมพันธ์ระหว่างเมืองกับชนบท ใน ประเด็นแรกนั้นเน ้นถึงหลักการที่รัฐจะต ้องดำาเนินการอย่าง แข็งขันที่จะลดทอนระดับการพึ่งพาต่อระบบทุนนิยมโลกลง การเลือกสรรแนวทางการพึ่งตนเองประกอบด ้วยมิติหลายมิติ

1. มิติด ้านวุฒิภาวะ ระบบเศรษฐกิจพึ่งตนเอง มีการ ผล ิตครบวงจร นอกจากนี้ม ีการเช ื่อมโยงระหว่างภาค เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมในขณะเดียวกันมีการพัฒนา ตลาดภายในเพื่อเป็นฐานรองรับการผลิตของประเทศ ควรมี

กลไกถ่ายทอดเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนอย่างอิสระ ในการพึ่งพาตลาดต่างประเทศต ้องรู ้เท่าทันว่าเราจะพึ่งในส ิ่ง ใด พึ่งเพื่ออะไร แนวคิดการพึ่งตนเองมิใช่ปิดประเทศ หาก แต่ว่าลดระดับ การเชื่อมโยงกับทุนนิยมโลกลงมาในระดับที่

เหมาะสม

กระบวนท ัศน์ใหม่เพื่อทางออก

หากเราแสวงหากระบวนทัศน์ใหม่ เพื่อเสนอทางออก เท่ากับเป็นการพยายามฟื้นฟูภูมิปัญญา และคุณค่าทาง ศาสนาที่เคยมีมาในวิถีชีวิต ดั้งเดิมของชนชั้นในชนบท แต่ก็

ไม่ได ้หมายความว่าจะหวนกลับสู่อดีต หากโดยสาระแล ้ว เรียนรู ้ที่จะพัฒนาพื้นฐานและการพึ่งตนเองของภาคเกษตร และชนบทอย่างแท ้จริงแทนที่เป็นฝ่ายอยู่ภายใต ้การอุ ้มชูและ ความอุดมสมบูรณ์ของภาคเศรษฐกิจอื่น

แนวคิดในการพึ่งตนเองแบ่งได ้ 3 ระดับดังนี้

1.ระดับปัจเจกชนและระดับชุมชน 2. ระดับภูมิภาค

3. ระดับชาติ และเชื่อมโยงกับต่างประเทศ

ลักษณะสามระดับนั้นสัมพันธ์ระหว่างเมืองกับชนบท ใน ประเด็นแรกนั้นเน ้นถึงหลักการที่รัฐจะต ้องดำาเนินการอย่าง แข็งขันที่จะลดทอนระดับการพึ่งพาต่อระบบทุนนิยมโลกลง การเลือกสรรแนวทางการพึ่งตนเองประกอบด ้วยมิติหลายมิติ

1. มิติด ้านวุฒิภาวะ ระบบเศรษฐกิจพึ่งตนเอง มีการ ผล ิตครบวงจร นอกจากนี้ม ีการเช ื่อมโยงระหว่างภาค เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมในขณะเดียวกันมีการพัฒนา ตลาดภายในเพื่อเป็นฐานรองรับการผลิตของประเทศ ควรมี

(11)

กลไกถ่ายทอดเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนอย่างอิสระ ในการพึ่งพาตลาดต่างประเทศต ้องรู ้เท่าทันว่าเราจะพึ่งในส ิ่ง ใด พึ่งเพื่ออะไร แนวคิดการพึ่งตนเองมิใช่ปิดประเทศ หาก แต่ว่าลดระดับ การเชื่อมโยงกับทุนนิยมโลกลงมาในระดับที่

เหมาะสม

2. มิติด ้านการสร ้างสรรค์ การพัฒนาแบบพึ่งตนเองรวม ถึงความสามารถของสังคมที่จะส่งเสริมให ้เกิดนวัตกรรม และ พัฒนาเทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือสำาหรับการผลิตที่ครบ วงจร โดยสร ้างสรรค์ภูมิปัญญาท ้องถิ่นให ้เกิดศักยภาพใน การพึ่งตนเอง

3. มิติด ้านการปลดปล่อยสังคม เนื่องจากระบบสังคม ไทยมีความเหลื่อมลำ้าระหว่างส่วนต่าง ๆ นอกจากนี้ระบบ เศรษฐกิจไทยอยู่ภายใต ้อิทธิพลของกลุ่มทุนต่างชาติจึงมี

ความจำาเป็นที่จะต ้องปลดปล่อยจากการครอบงำาทาง

เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมจากต่างชาติ ซึ่งก็หมายถึง ควรมี

การส่งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีพื้นบ ้าน ในลักษณะ

สร ้างสรรค์ และมีความสอดคล ้องกับความต ้องการของสังคม ปัจจุบัน

4. มิติด ้านความเป็นไทยและประชาธิปไตย สังคมที่มี

วุฒิภาวะและพึ่งตนเองได ้นั้น ต ้องมีอิสราธิปไตย และ ประชาธิปไตย ในระหว่างประเทศการที่ประเทศเป็นไทได ้ ย่อมหมายถึง การมีนโยบายต่างประเทศที่เสรี และเข ้าร่วม ในเวทีการเมืองระหว่างประเทศอย่างอิสระโดยเฉพาะการส่ง เสริมความร่วมมือระหว่างประเทศฝ่ายใต ้ด ้วย ( South - South Cooperation) และต่อต ้านการครอบงำาระบบโลก ด ้วยกลุ่มประเทศอภิมหาอำานาจทั้งปวง

5. มิติด ้านการรื้อฟื้น ในมิตินี้ มุ่งเชิดชู พัฒนาคุณค่า ศักดิ์ศรีและจิตสำานึกต่อสังคมและจริยธรรมของมนุษย์ ความ สัมพันธ์ทางสังคมที่เป็นอยู่มักเป็นไปในแนวทางที่ลดคุณค่า ของมนุษย์ สร ้างความแปลกแยกให ้เกิดขึ้น ดังนั้นจึงต ้องหัน มาช่วยกันสร ้างสังคมที่เป็นธรรม มีความเหลื่อมลำ้าไม่มากนัก และมีชีวิตด ้วยความเป็นมนุษย์ในระดับสูง

6.มิติด ้านความสัมพันธ์ที่เหมาะสมระหว่างมนุษย์กับ ธรรมชาติ ในสังคมที่พึ่งตนเองแบบดั้งเดิม มนุษย์ได ้เรียนรู ้ และปลูกฝังค่านิยมที่สัมพันธ์กับธรรมชาติอย่างสมดุล โลก

(12)

ทัศน์เกี่ยวกับการดำารงชีวิตมีลักษณะพิจารณาแบบองค์รวม ไม่ใช่เป็นการคิดแบบแยกส่วน ดังเช่นในปัจุบัน

7.มิติด ้านความอุดมการณ์ สังคมไทยได ้ใช ้ฐานความ เชื่ออันเป็นอุดมการณ์สามประการมาขับเคลื่อนสังคม กล่าว คือ

ลัทธิพัฒนานิยม ลัทธิบริโภคนิยม

ลัทธิความมั่นคงแห่งชาติ

อุดมทั้งสามประการณ์นี้ได ้มีผลให ้ประเทศไทยเข ้าร่วมอยู่ใน ระบบทุนนิยมโลก ด ้วยเหตุนี้จึงเป็นการทำาลายสมรรถภาพ และศักยภาพใน พึ่งตนเองมีความจำาเป็นที่จะต ้องแสวงหา อุดมการณ์ต่าง ๆ เพื่อนำามาสังเคราะห์หรือดัดแปลงเพื่อให ้ สอดคล ้องกับสภาพสังคมไทย เพื่อเป็นการต่อต ้านการปฏิบัติ

ตามอุดมการณ์หลักสามประการ 7 จุดยืนในบริบทของโลก

ทางออกสำาหรับสังคมไทย เราอาจต ้องสร ้าง เศรษฐกิจสองระบบขึ้นมา คือ เศรษฐกิจ

ระบบเสรีนิยม กับ เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งทั้งสองระบบนี้ต่างก็มี

ช่องว่าง ด ้วยกัน คือ ในส่วนระบบเสรีนิยม

นั้น ให ้อำานาจ เสรีภาพ แก่ปัจเจกชนมากเกินไป ความเท่า เทียมของบุคคลนั้นไม่มี เมื่อขาดความเท่าเทียมกันในการ ครอบครองทรัพย์สิน ปัจจัยการผลิต รวมทั้งการกุมอำานาจรัฐ และใช ้อำานาจรัฐให ้เป็นประโยชน์แก่ตนเอง นี่คือมูลเหตุของ การพัฒนาเพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจ ตามระบบเสรีนิยม ขณะเดียวกันระบบเศรษฐกิจของชุมชน แนวคิดนี้ต่างจาก ระบบสังคมนิยมตรงที่สังคมนิยมมีช่องว่างที่มีผลประโยชน์

รวมกันทั้งหมดเป็นไปได ้ยาก มีเป้าหมายเพื่อสังคม ซึ่งไกล ตัวเกินไป แต่ลดระดับลงมาที่ชุมชน เพราะอยู่ตรงกลาง ระหว่างสังคม กับเสรีชน ระบบเศรษฐกิจชุมชนนี้ จะมีการก ระจายรายได ้ กระจายอำานาจเท่าเทียมกัน รวมทั้งเกิดเครือ ข่ายเชื่อมโยงระหว่างชุมชน เมื่อชุมชนมีความมั่นคงแล ้วก็จะ พิทักษณ์ชุมชน โดยคนในชุมชนแล ้ว และมีโอกาสสร ้าง

7.สุรี ประศาสน์เศรษฐ์. วิถีสังคมไทย. กรุงเทพ ฯ : เรือนแก ้วการพิมพ์ , 2544.

หน ้า 17 – 21.

(13)

วัฒนธรรมของตัวเองขึ้นมา สร ้างเศรษฐกิจเลี้ยงตัวเองได ้ เพราะในท่ามกลางภาวะวิกฤติปัจจุบันปรากฏว่าชุมชนจำานวน มากในสังคมไทยที่รวมกลุ่มกันสามารถอยู่ได ้ เพราะมีตัวแปร ที่สำาคัญ 3 ประการ คือ

1. เศรษฐกิจที่เป็นทุนแห่งชีวิต คือเศรษฐกิจที่พึ่งพา ตัวเองในเรื่องพื้นฐานเกี่ยวกับอาหารการกินนอกจากนี้มีการ แปรรูปเป็นระบบอุตสาหกรรมขนาดย่อมซึ่งเป็นตัวรองรับ สภาวะชีวิตและอาหารการกินกับชุมชน

2. เศรษฐกิจที่เป็นตัวเงินตรา คือระบบออมทรัพย์ใน ชุมชน โดยไม่เอาตัวเองเข ้าไปผูกพันธะกับธนาคาร หรือเงิน ตรากับระบบเสรี แนวคิดนี้ใช่เงินสะสมทุนภายในชุมชนเพื่อ เพิ่มทุน และส่งเสริมผลผลิตสร ้างเข ้มแข็งในชุมชน โดยทุน ของชุมชนเอง เพื่อทางออกในกระแสการขยายตัวของภาค อุตสาหกรรม กับภาคการเงินที่โตขึ้น จากจะระบบเสรีจาก ภายนอกชุมชนเชื่อมโยงกันที่จะดูดเงินของโลก และ

แสวงหาผลประโยชน์ในการผลิต จุดนี้ทำาให ้เกิดภาพความยิ่ง ใหญ่ของภาคการเงินในระบบปัจจุบัน

บทสรุป

เมื่อสังคมไทยก ้าวสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงในกระแส

โลกาภิวัฒน์ซึ่งมีความซับซ ้อนและเชื่อมโยงส่วนต่าง ๆ ของ โลกให ้เข ้าสู่ระบบเดียวกัน ระดับดังกล่าวเป็นทั้งโอกาสและ ภัยคุกคาม การพัฒนาประเทศเพื่อความเติบโตทางเศรษฐกิจ เพื่อยกระดับสู่ภาวะแห่งทันสมัยนับว่ามีความท ้าทายเป็นอย่าง ยิ่ง เนื่องจากนัยแห่งการพัฒนาดังกล่าวได ้สะท ้อนภาพเลือน ลางห่างจากพัฒนา และความเปลกแยกในสังคมเริ่มจาก ระดับองค์มติสู่ระดับการกำาหนดทิศทางการพัฒนา การ กำาหนดทิศทางเพื่อก ้าวเดินก ้าวต่อไปนับว่ามีความจำาเป็น อย่างยิ่ง เนื่องจากความเป็นจริงของสภาพสังคมกับนัยแห่ง การพัฒนา ยังเป็นภาพมายาที่เราเข ้าใจว่าภาพจริงหากแต่ว่า ภาพดังกล่าวได ้ทำาให ้การก ้าวเดินของเราพบกับความจริง เทียม คือ การพัฒนาแต่กลับทำาให ้ด ้อยพัฒนา การสร ้าง ฐานองค์ความรู ้บนพื้นฐานแห่งความไทยในกระแสภูมิปัญญา ตะ วันตกนับว่าเป็นสิ่งจำาเป็น ความจำาเป็นเพื่อตัวจักรขับ เคลื่อนสังคมไทยทุกภาคส่วนท่ามกลางความผลิผันของ สังคมโลกอย่างแท ้จริง

(14)

คำาถามท้ายบท 1.มายาภาพของเศรษฐกิจ สังคม การเมืองไทยเป็น

อย่างไร

2.พระบวนการพัฒนาเป็นประเทศ พัฒนาแล ้ว-ด ้อยพัฒนา เป็นอย่างไร

3.การพัฒนาประเทศไทยในอดีตมีลักษณะเป็นอย่างไร 4.ทุนทางสังคม มีลักษณะอย่างไร

5.การศึกษาเป็นกระบวนการสร ้างทุนทางสังคมอย่างไร

(15)
(16)

Referensi

Dokumen terkait

ดังนี้ อิทธิพลทางตรงมี 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านการออกแบบทีม มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล เท่ากับ 0.57 ปัจจัยด้าน กระบวนการของทีม มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล เท่ากับ 0.31และปัจจัยด้านภาวะผู้น

แนวทางการพัฒนาสมดุลด้านการใช้ชีวิตนอกเวลางานมิติครอบครัว อาศัยความร่วมมือ กันระว่างพยาบาลวิชาชีพและสมาชิกครอบครัวเพื่อ มีแนวทาง 2 แนวทาง คือ แนวทางการจัดสรร หน้าที่ วิธีการคือท