• Tidak ada hasil yang ditemukan

โครงการยุววิจัยท่องเที่ยว : การบูรณาการการศึกษา เศรษฐกิจ ภูมิคุ้มกันความเป็นชุมชนภาคกลาง

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "โครงการยุววิจัยท่องเที่ยว : การบูรณาการการศึกษา เศรษฐกิจ ภูมิคุ้มกันความเป็นชุมชนภาคกลาง"

Copied!
29
0
0

Teks penuh

(1)

โครงการยุววิจัยทองเที่ยว : การบูรณาการการศึกษา เศรษฐกิจ ภูมิคุมกันความเปนชุมชนภาคกลาง

โดย นิภาวรรณ พุทธสงกรานต

ธันวาคม 2552

(2)

โครงการยุววิจัยทองเที่ยว : การบูรณาการการศึกษา เศรษฐกิจ ภูมิคุมกันความเปนชุมชนภาคกลาง

ผูวิจัย สังกัด

นิภาวรรณ พุทธสงกรานต มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ชุด โครงการยุววิจัยทองเที่ยว : การบูรณาการการศึกษา เศรษฐกิจ ภูมิคุมกันความเปนชุมชน

สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

(ความเห็นในรายงานนี้เปนของผูวิจัย สกว. ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป)

(3)

นิภาวรรณ พุทธสงกรานต

มหาวิทยาลัยศรีปทุม Nipawan Phuttasongkran

Sripatum University

บทคัดยอ

บทความนี้ เปนการสังเคราะหงานวิจัยทุกโครงงานที่เขารวม โครงการ “ยุววิจัยทองเที่ยว : การบูรณา การการศึกษา เศรษฐกิจ ภูมิคุมกันความเปนชุมชนภาคกลาง” ซึ่งไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสถาบันวิจัย เพื่อการพัฒนาการทองเที่ยวไทย โรงเรียนตนแบบที่เขารวมโครงการจากภาคกลาง มี 4 โรงเรียน ไดแก 1) โรงเรียน บานหวยหินดํา จังหวัดสุพรรณบุรี 3 โครงงาน 2) โรงเรียนบางพลีราษฎรบํารุง จังหวัดสมุทรปราการ 9 โครงงาน 3) โรงเรียนวัดปรมัยยิกาวาส จังหวัดนนทบุรี 15 โครงงาน 4) โรงเรียนถาวรานุกูล จังหวัดสมุทรสงคราม 18 โครงงาน รวมทั้งสิ้น 45 โครงงาน ผลการศึกษาเปนการศึกษาเชิงคุณภาพในฐานะของผูประสานงาน โดยการสังเคราะหผล จากกระบวนการสอบถาม สัมภาษณ สังเกต ลงพื้นที่ ศึกษาและวิเคราะหรวมกับอาจารยที่ปรึกษาและนักเรียนที่

เขารวมโครงการ เพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงค 10 ประการของโครงการ โดยภาพรวมโครงการทั้งหมดบรรลุ

วัตถุประสงค คือ สรางคลังสมอง พัฒนาทรัพยากรมนุษย สรางโรงเรียนตนแบบ ทําใหเกิดความภาคภูมิใจและ ความตระหนักของชุมชน สรางความสัมพันธอันดี กระตุนใหภาคธุรกิจทองเที่ยวเขาใจชุมชน ตลอดจนสราง เครือขายและรูปแบบการพัฒนาการวิจัยการทองเที่ยวบนฐานการมีสวนรวมของทุกภาคีในทองถิ่นผานการวิจัย โดยยุวชน โครงการนี้มีขอเสนอแนะวา มีประโยชนมาก อาจารย นักเรียน และชุมชน เกิดการเรียนรูรวมกันในการ ทํางานวิจัย เพื่อนํามาพัฒนาแหลงทองเที่ยวในทองถิ่น ใหมีความยั่งยืนและมีภูมิคุมกัน มีเครือขายเกิดขึ้น ควรจัด อบรมใหความรูทั้งอาจารยและนักเรียน ในระยะแรกเริ่มดําเนินการวิจัย ควรขยายระยะเวลาใหนักเรียนมีเวลาทํา วิจัยมากขึ้น และผลักดันใหทุกโครงงานไดนําเสนอผลงานในระดับชาติ ดังนั้น โครงการนี้ จึงควรดําเนินการตออยาง ตอเนื่อง บนพื้นฐานการสรางโรงเรียนตนแบบ

Abstract

This article is a synthesis of all research projects joining the “Youth Tourism Research: An Integration of Education, Economy and Immunity for Central Region Communities Project” which received financial supports from the Thailand Tourism Development Research Institute. A total number of four schools from the Central Region, with the total number of 45 school projects, participated in the Project, namely, (1) Ban Huay Hin Dam School, Suphan Buri province (3 projects); (2) Bang Phli

(4)

Ratbamrung School, Samut Prakan province (9 projects); (3) Wat Poramaiyikawat School, Nonthaburi province (15 projects); and (4) Thawaranukul School, Samut Songkhram province (18 projects). The researcher, as the Project coordinator, studied these projects in the four schools by synthesizing research data obtained from the questionnaires, interviews, observations, and field visits in the research areas. The study and analysis were conducted with the cooperation of teachers and students participating in the Project in accordance with the 10 objectives of the Project. As a whole, all school projects achieved the Project objectives, namely, to create the brain pool, to develop human resource, to create pilot schools, to instill the pride and awareness of the community, to create good relationships, to encourage the tourism business sector to have better understanding of the community, and to create the network and model for development of tourism research based on participation of all local parties through research by youths. Recommendations obtained from the Project were as follows: this Project was very useful; teachers, students, and the community learned together in doing research for development of local tourist places to achieve sustainability, to have immunity and to create network;

the authority concerned should train teachers and students at the beginning of the Project to equip them with knowledge on the Project; the Project duration should be expanded in order to provide more time for students to do research; every school project should be encouraged to present its outcomes at the national convention level; and thus, this project should continue its operation based on the creation of the pilot schools.

คําสําคัญ : การบูรณาการ / การทองเที่ยว / ยุววิจัยทองเที่ยว / ภาคกลาง Keywords: integration / tourism / youth tourism research / Central Region

คํานํา

การทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมที่มีผลตอการพัฒนาประเทศหลายประเทศ ในอดีตที่ผานมาการ พัฒนาการทองเที่ยวในประเทศตางๆ จึงมีกระแสการพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ การพัฒนาดาน เศรษฐกิจเปนสําคัญ ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบานก็จัดการทองเที่ยวในลักษณะเดียวกัน คือ เพื่อแกปญหา เศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ การพัฒนาการทองเที่ยวในภาพรวมที่ผานมาจึงกอใหเกิดผลกระทบทางลบ ทั้งดาน สังคม สิ่งแวดลอมและการทําลายทรัพยากรอยางหลีกเลี่ยงไมได การวิจัยดานการทองเที่ยวจึงเขามามีบทบาทเพื่อ แกปญหาและปองกันผลกระทบอื่นๆ ที่ผานมาสถาบันการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ จึงไดจัดทํางานวิจัย ดานการทองเที่ยวที่สอดคลองกับสถานการณที่เกิดขึ้นเปนจํานวนมาก ในลักษณะของการวิจัยเพื่อพัฒนาการ ทองเที่ยวยั่งยืน

อยางไรก็ตาม การพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวไทยอยางไรขีดจํากัด สงผลใหชุมชนและสังคม ไดรับผลกระทบเชิงลบอยางมหาศาล อาจกลาวไดวา การทองเที่ยวในปจจุบัน มีฐานการพัฒนาที่วางอยูบนพื้นฐาน ของชุมชนที่ไมเขมแข็ง ใชเศรษฐกิจเปนตัวตั้งและไมไดวางอยูบนฐานความรู จึงเปราะบางและสรางการ เปลี่ยนแปลงเพื่อตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวเปนหลักโดยไมคํานึงถึงฐานทรัพยากรและอัตลักษณ

(5)

ของตนเอง กอใหเกิดปญหามากมาย อาทิ การแปลงวัฒนธรรมของตัวเองมาขายเปนสินคา (Commodification) ชุมชนเกิดพฤติกรรมการเลียนแบบนักทองเที่ยว (Demonstration Effect) และอื่นๆ อีกมากมาย ปญหาดังกลาว สะทอนใหเห็นวา การพัฒนา “คน” ควบคูกับ “การสรางความรู” ผานกระบวนการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งใหกับ

“กลไกและเครือขาย” จะสามารถสราง “ภูมิคุมกัน” ซึ่งเปนฐานที่สําคัญในการนําไปสู “การทองเที่ยวอยางยั่งยืน”

การทองเที่ยวนับวา เปนอุตสาหกรรมสําคัญที่นํารายไดหลักเขาประเทศ กอใหเกิดรายไดหมุนเวียนใน ประเทศ และมีบทบาทสําคัญตอการจางงาน อุตสาหกรรมทองเที่ยวและบริการ มีความตองการแรงงานในป 2550 ประมาณ 950,000 คน และคาดวาจะมีการจางงานเพิ่มขึ้นอีกเปนประมาณ 1,047,000 คน ในป 2552 ประเทศ ไทยยังคงสามารถรั้งตําแหนงอันดับ 4 ของประเทศที่มีนักทองเที่ยวเดินทางมาเยือน และมีรายไดจากการทองเที่ยว มากที่สุดในเอเชีย รองจากจีน ญี่ปุน และฮองกง ยังคงเปนแหลงทองเที่ยวนํา 5 อันดับแรกในเอเชียในป 2551 และ มีแนวโนมที่จะปรับระดับสูอันดับที่สูงขึ้นในเวทีโลก (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2551) ดังนั้นในป 2551-2552 การทองเที่ยวจึงเปนอุตสาหกรรมที่เปนกลไกหนึ่งที่จะขับเคลื่อนและรื้อฟนปทองเที่ยวไทย ตามนโยบายของรัฐบาล รัฐบาลไดตระหนักถึงความสําคัญของอุตสาหกรรมทองเที่ยว และไดกําหนดใหมีแผนพัฒนาการทองเที่ยวไวเปน สวนหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เริ่มตั้งแตฉบับที่ 4-ปจจุบัน ที่ผานมาถึงแมอุตสาหกรรม ทองเที่ยวของประเทศไทยจะขยายตัวเติบโตขึ้นอยางมาก และนําคุณประโยชนทางเศรษฐกิจมาสูประเทศไทยอยาง มหาศาลก็เปนที่นาพิจารณาวา อุตสาหกรรมทองเที่ยวเองกลับสงผลกระทบในลักษณะที่ไมพึงปรารถนา เติบโต ขนานกันไปดวย โดยเฉพาะผลกระทบที่มีตอคุณภาพของสิ่งแวดลอม ระบบนิเวศ วัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิต ความเปนอยูของชุมชนโดยทั่วไป แหลงทองเที่ยวหลายแหงเริ่มเสื่อมคุณคาและตกอยูในสภาพเสื่อมโทรม และมี

โอกาสที่จะสูญเสียสวนแบงทางดานการตลาดทั้งในปจจุบันและอนาคต หากมิไดมีการปรับปรุงโครงสรางการ บริหารที่เหมาะสม หรือที่จะใหการทองเที่ยวของประเทศไทยมีคุณภาพและมีความยั่งยืน

สําหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ซึ่งเปนฉบับปจจุบัน มียุทธศาสตรการ พัฒนาประเทศภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) มีแผนการ ดําเนินงานในชวง 10 ป ระหวาง พ.ศ. 2544-2553 วาจะมุงเนนการดําเนินงานตามแผนงานหลัก 8 แผนงาน (ไทย ทีวีสีชอง 3, 2550) ไดแก 1)การปรับยุทธศาสตรการสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยว 2)การสงเสริมการทองเที่ยว ทั้งตลาดในและตางประเทศ รวมทั้งพยายามชะลอการเดินทางออกนอกประเทศของคนไทย 3)การพัฒนาการ ทองเที่ยว โดยเนนการพัฒนาและฟนฟูแหลงทองเที่ยว การพัฒนากิจกรรมการทองเที่ยว การปรับปรุงโครงสราง พื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกทางการทองเที่ยว รวมทั้งการยกระดับมาตรฐานการบริการใหประเทศไทยเปน แหลงทองเที่ยวในระดับ World Class 4)การอํานวยความสะดวกในการเขาเมือง 5)การดูแลดานความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพยสินของนักทองเที่ยว 6)การพัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศและพาณิชยอิเล็กทรอนิคส 7)การ รวมมือกับประเทศเพื่อนบาน เพื่อใหประเทศไทยเปนศูนยกลางดานการทองเที่ยว และการบินของภูมิภาค และ 8) การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพองคกรเพื่อใหดําเนินงานสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยว

จะเห็นไดวา ประเทศไทยตระหนักถึงความสําคัญของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวมาตั้งแตแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 จนกระทั่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับปจจุบันภายใตหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

(6)

ดังนั้น สถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวไทย (2552) เล็งเห็นความสําคัญของการสรางความเขาใจ และศักยภาพการเรียนรูดานการทองเที่ยวตั้งแตวัยเด็กเปนสิ่งสําคัญยิ่ง ผาน “การเรียนชีวิต” ไมใชแค “เรียน หนังสือ” การเรียนรูนอกหองเรียนสามารถปลูกฝงจิตสํานึกและคานิยมดานตางๆ กระบวนการวิจัยไมเปนเพียง เครื่องมือในการสรางคุณภาพของยุวชนแตยังพัฒนาคุณภาพครูใหเปนผูรูและสรางนักเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระบวนการวิจัย ยังเชื่อมโรงเรียนกับภาคีทองถิ่น (รัฐ เอกชน และประชาชน) ที่เกี่ยวของดวยความเขาใจ ซึ่งกันและกันอยางเปนระบบ สงเสริมการรวมคิดและรวมพัฒนาภายใตกิจกรรมการวิจัย ซึ่งเปนกระบวนการที่

สามารถกําหนดทิศทางการพัฒนาที่สอดคลองกับความตองการของชุมชนอยางแทจริง ชุดโครงการยุววิจัย ทองเที่ยวฯ ไมไดเปนเพียงการเตรียมคนเพื่อแกปญหาเพียงอยางเดียว หากแตสรางกระบวนการเพื่อใหยุวชนเปน นักเรียนรู นักเปรียบเทียบ นักวิเคราะห นักสืบในการเฝาระวัง เพื่อสะทอนปญหาหรือประเด็นการพัฒนาดานการ ทองเที่ยวใหผูใหญ (จังหวัด เทศบาล อบต. อบจ. และภาคธุรกิจ) ไดรับรูและมีแรงบันดาลใจในการแกปญหาและ พัฒนาการทองเที่ยวในทองถิ่นบนฐานความรู

ภาคกลางของประเทศไทยมีสภาพทางภูมิศาสตรที่เหมาะแกการเพาะปลูก เนื่องจากเปนที่ราบลูกฟูก มี

สถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณมีชื่อเสียงหลายแหง ตลอดจนวัฒนธรรมและประเพณี ซึ่งภาค กลางประกอบดวย 14 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร ชัยนาท สิงหบุรี ลพบุรี สระบุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ นครปฐม สุพรรณบุรี สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ทั้งนี้มหาวิทยาลัยศรีปทุม รวมกับสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวไทยไดคัดเลือกโรงเรียนที่มีศักยภาพพรอมเปนโรงเรียนนํารองในการ ดําเนินโครงการยุววิจัยทองเที่ยว โดยใหนักเรียนเปนผูดําเนินการวิจัยเอง ครูเปนพี่เลี้ยงและที่ปรึกษา ระดับอุดมศึกษารวมหนุนเสริม ซึ่งมีโรงเรียนในความรับผิดชอบ 4 โรงเรียน โดยแบงออกเปนระดับประถมศึกษา 2 แหง และมัธยมศึกษา 2 แหง คือ ระดับประถมศึกษา ไดแก โรงเรียนบานหวยหินดํา จ.สุพรรณบุรี และโรงเรียน วัดปรมัยยิกาวาส จ.นนทบุรี สวนระดับมัธยมศึกษา ไดแก โรงเรียนถาวรานุกูล จ.สมุทรสงคราม และโรงเรียนบาง พลีราษฎรบํารุง จ.สมุทรปราการ เพื่อเปนโรงเรียนตนแบบและขยายผลตอไปในอนาคต

บทความนี้จะนําเสนอผลจากการสังเกตการณในฐานะผูประสานงานโครงการยุววิจัยทองเที่ยวฯ เขตพื้นที่ภาคกลาง และสังเคราะหงานยุววิจัยทองเที่ยวในโครงการทั้งสิ้น 45 เรื่องโดยตอบประเด็นตาม วัตถุประสงคขางตน

เครื่องมือและวิธีการศึกษา

การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพเนนการศึกษาโครงการยุววิจัยทองเที่ยวฯซึ่งสังเคราะหขอมูลจาก การศึกษาโครงงานยุววิจัยทองเที่ยวฯรวมทั้งสิ้น 45 เรื่อง จากโรงเรียนกลุมภาคกลาง 4 โรงเรียน คือ โรงเรียนถาวรา นุกูล จังหวัดสมุทรสงคราม โรงเรียนวัดปรมัยยิกาวาส จังหวัดนนทบุรี โรงเรียนบางพลีราษฎรบํารุง จังหวัด สมุทรปราการ และโรงเรียนบานหวยหินดํา จังหวัดสุพรรณบุรี

(7)

ขั้นตอนการดําเนินงานวิจัยสามารถแยกอธิบายไดดังนี้

1. ศึกษาหาโรงเรียนที่จะเขารวมโครงการยุววิจัยทองเที่ยวฯ ในภาคกลาง

2. ประสานงานและแนะแนวการเขียนโครงรางโครงการยุววิจัยทองเที่ยวฯ ใหกับโรงเรียนที่เขารวม โครงการ

3. ไดโครงการยุววิจัยทองเที่ยวเกี่ยวกับประเด็นดังนี้

- ระบบและกลไกติดตามผลกระทบและความเปลี่ยนแปลงทางการทองเที่ยว - ระบบการพัฒนาและจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืนในทองถิ่น

- ระบบการตลาดและการประชาสัมพันธการทองเที่ยว - การจัดการฐานทรัพยากรเพื่อการทองเที่ยว

4. ผานกระบวนการคัดเลือกโครงการที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นวา มีศักยภาพสมควรดําเนินการได

5. จัดประชุม อบรมครูที่ปรึกษาใหมีความรูความเขาใจดานการทองเที่ยว การวิจัย เกี่ยวกับการ ทองเที่ยวและการบูรณาการหลักสูตรในรายวิชาตางๆ

6. ประสานงานกับโรงเรียนในภาคกลางที่เขารวมโครงการ โดยการเรียนรูรวมกันระหวางผู

ประสานงานเขตพื้นที่ ครูที่ปรึกษา นักเรียน และภาคีตางๆ ที่เกี่ยวของ

7. จัดประชุมเพื่อสรางเครือขายการวิจัยการทองเที่ยว ประกอบดวย อบจ. อบต. เทศบาล ชุมชน ภาค ธุรกิจ และผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่

8. สังเคราะหงานวิจัยทุกโครงงานที่เขารวมโครงการเมื่อดําเนินการเสร็จสิ้น เพื่อใหเกิดประโยชนตอ การพัฒนาองคความรูดานการทองเที่ยว พัฒนาทรัพยากรมนุษย ทั้งครูที่ปรึกษาและนักเรียนใหเกิดความ ภาคภูมิใจ รักถิ่นกําเนิด ตลอดจนศึกษาปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไขตอไป

ผลการศึกษา

จากการดําเนินการวิจัยเก็บขอมูล เพื่อนํามาประมวลผลและเสนอแนวทางการพัฒนาโครงการยุววิจัย ทองเที่ยวฯ โดยการประสานงานกับกลุมโรงเรียนที่เขารวมโครงการภาคกลาง ไดแก จังหวัดนนทบุรี สุพรรณบุรี

สมุทรปราการ และสมุทรสงคราม เมื่อไดลงพื้นที่ศึกษาและสังเกตการณกระบวนการของการพัฒนาโครงงาน ยุววิจัยของแตละโรงเรียน และดําเนินการจัดอบรมเรื่องการทองเที่ยวและการวิจัย การบูรณาการหลักสูตรเพื่อ นําไปใชกับการเรียนการสอน ตลอดจน การจัดประชุมเพื่อสรางเครือขายการวิจัย มีผลการดําเนินงานดังนี้

ผลจากขั้นตอนการดําเนินงานสามารถตอบวัตถุประสงคโครงการ ดังนี้

วัตถุประสงคขอ 1 สรางคลังสมองในพื้นที่เพื่อดูแลฐานทรัพยากรการทองเที่ยวและพัฒนาการทองเที่ยว โดยคํานึงถึงความยั่งยืนของชุมชน ซึ่งดําเนินการโดยกลไกของชุมชนเองบนฐานความรูที่ไดจากการวิจัยผานการวิจัย ของเด็ก โดยผานขั้นตอนจัดหาโรงเรียนในแตละพื้นที่ และขั้นตอนการเลือกพื้นที่ศึกษา และโรงเรียนที่จะเขารวมการ วิจัย ขั้นตนสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยไดดําเนินการประสานงานกับผูประสานโครงการ ยุววิจัยทองเที่ยวในแตละภูมิภาค เพื่อใหหาโรงเรียนที่เขารวมโครงการภาคละ 4 โรงเรียน ซึ่งอยูจังหวัดที่ตางกัน ผูประสานงาน จะไดรายละเอียดโครงการและดําเนินการจัดหาโรงเรียน โดยติดตอไปยังผูอํานวยการโรงเรียนที่คิดวามี

ศักยภาพจะเขารวมโครงการ ในสวนของภาคกลางหลังจากไดโรงเรียนที่เขารวมโครงการแลวมีการดําเนินการใน

(8)

ขั้นตอนการกําหนดประเด็นในการศึกษาตามความเหมาะสมของพื้นที่เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคสรางคลังสมองตาม ศักยภาพของพื้นที่อยางแทจริง โดยสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวไทย เปนผูจัดการประชุม เพื่อทําความเขาใจ ใหกับอาจารยที่ปรึกษาของโรงเรียนที่เขารวมโครงการ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2551 สําหรับโรงเรียนในภาคกลางและวันที่

11 พฤศจิกายน 2551 สําหรับกลุมโรงเรียนทุกภูมิภาค โดยไดระบุประเด็นการพัฒนาโครงการยุววิจัยทองเที่ยว ดังนี้

- ระบบและกลไกติดตามผลกระทบและความเปลี่ยนแปลงทางการทองเที่ยว - ระบบการพัฒนาและจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืนในทองถิ่น

- ระบบการตลาดและการประชาสัมพันธการทองเที่ยว - การจัดการฐานทรัพยากรเพื่อการทองเที่ยว

วัตถุประสงคขอ 2 พัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยเฉพาะนักเรียนและครูทั้งในระดับ ประถมศึกษาและ อุดมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา ซึ่งเปนกลุมที่มีศักยภาพกและใกลชิดชุมชน ทนและพรอมตอแรงกดทับจาก อุตสาหกรรมการทองเที่ยว ซึ่งขั้นตอนนี้เริ่มจากการพิจารณาขอเสนอโครงการ โดยผูประสานงานไดดําเนินการ ประสานงานและสรางความเขาใจกับแตละโรงเรียนที่เขารวมโครงการ เพื่อพัฒนาขอเสนอโครงการยุววิจัยทองเที่ยว ใหคณะกรรมการพิจารณา เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2552 โดยแตละโรงเรียนไดสงโครงงานทั้งสิ้น 51 โครงงาน ในสวน ของภาคกลาง โดยภาพรวมมีดังนี้

1. โรงเรียนบานหวยหินดํา จังหวัดสุพรรณบุรี (2 โครงการใหญ 3 โครงงานยอย) 2. โรงเรียนบางพลีราษฎรบํารุง จังหวัดสมุทรปราการ (4โครงการใหญ 9 โครงงานยอย) 3. โรงเรียนวัดปรมัยยิกาวาส จังหวัดนนทบุรี (3 โครงการใหญ 15 โครงงานยอย) 4. โรงเรียนถาวรานุกูล จังหวัดสมุทรสงคราม (4 โครงการใหญ 24 โครงงานยอย)

หลังจากนั้นคณะกรรมการไดพิจารณาคัดเลือกแตละโครงงานและประกาศผลโครงงานที่ผานเกณฑให

ดําเนินการได รวมทั้งสั้น 45 โครงการ สําหรับภาคกลาง (ดังตาราง 1) ตาราง 1 รายชื่อโรงเรียนและโครงงานที่ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัย

โรงเรียน ชื่อโครงงาน

บานหวยหินดํา จังหวัดสุพรรณบุรี

1. การอนุรักษการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมดวยการเดินโถกเถกชองชุมชน กะเหรี่ยง

2. การอนุรักษการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อฟนฟูการแตงกายชุดกะเหรี่ยง 3. รําตงในแหลงทองเที่ยวชุมชนกะเหรี่ยง

บางพลีราษฎรบํารุง จังหวัดสมุทรปราการ

1. ทองเที่ยวบางพลีลองเรือไหวพระ

2. การทองเที่ยวชวยลดโลกรอนดวยประโยชนจากขยะบริเวณอุโบสถวัดบาง พลีใหญในพัฒนาสูกระถางบุญ

3. การวิจัยเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ “วัดหลวงพอโต”

4. คูมืออิ่มบุญ อิ่มทอง ทองเที่ยววัดหลวงพอโต

5. การเผยแพรสถานที่ทองเที่ยวและวิถีชีวิตชุมชนวัดหลวงพอโต

6. การประชาสัมพันธดานการทองเที่ยววัดหลวงพอโตใหเปนที่รูจักในระดับ นานาชาติ

(9)

ตาราง 1 (ตอ)

โรงเรียน ชื่อโครงงาน

บางพลีราษฎรบํารุง จังหวัดสมุทรปราการ

7. ตระหนักเที่ยววัดบางพลีใหญใน (วัดหลวงพอโต) 8. ภาษาพาเที่ยว

9. เที่ยววัดพระนอนวัดบางพลีใหญกลาง วัดปรมัยยิกาวาส

จังหวัดนนทบุรี

1. การสื่อความหมายทางการทองเที่ยวดวยนิทานพื้นบานเลาขานบนเกาะเกร็ด 2. การเลาการละเลนพื้นบานสืบสานของชาวมอญเพื่อการทองเที่ยว 3. เดินสวนชวนเที่ยวเกาะเกร็ด

4. เกาะเกร็ดตระการตามากคุณคาสมุนไพรไทยเพื่อการพัฒนาการทองเที่ยว 5. เครื่องปนดินเผามรดกเกาชาวมอญเพื่อการอนุรักษวัฒนธรรมการทองเที่ยว 6. เกาะเกร็ดงามตาถาปราศจากขยะดวยการอนุรักษการทองเที่ยว

7. ศิลปะการแสดงมอญรําเกาะเกร็ด เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 8. หางหงสธงตะขาบ สืบสานตํานานมอญเพื่อการสื่อสารการทองเที่ยว 9. หันตราขนมหวานสืบสานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบนเกาะเกร็ด 10. ภาษาสื่อสารพื้นบานรามัญเพื่อการสงเสริมการทองเที่ยว

11. การศึกษาเอกลักษณทางการทองเที่ยวหนอกะลาพืชล้ําคาชาวรามัญ 12. สองลอพาทองเที่ยวเพลินไมตองเดินเพลินรอบเกาะ

13. ขาวแชเย็นฉ่ําอาหารเลิศล้ําชาวรามัญกับการทองเที่ยว

14. มะตาดทรงคุณคาไพรพฤกษาสงเสริมการทองเที่ยวแหงเกาะเกร็ด 15. เจดียเอียงเคียงคูวัดปรมัยสะทอนแหลงทองเที่ยวแหลงประวัติศาสตร

ถาวรานุกูล

จังหวัดสมุทรสงคราม

1. วิถีชีวิตชาวบางกุงกับการทองเที่ยวชุมชน 2. เสนทางการทองเที่ยวแหงคายบางกุง 3. ความประทับใจในการมาเที่ยวชมคายบางกุง 4. การทองเที่ยวศึกษาวิถีชีวิตชาวไทยที่บางกุง 5. Unseen Tourism in Bangkung

6. บางกุงโพธิ์คุมโบสถ คายรบพระเจาตากสินสะทอนการทองเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร

7. การสื่อสารทางการทองเที่ยวตนกําเนิดคายบางกุง 8. รูเทาทันการทองเที่ยวคายบางกุง

9. สนุกสุดเหวี่ยงกับการทองเที่ยวคายบางกุง 10. การสืบสานตํานานคายบางกุง

11. ทองเที่ยวบางกุงจากอดีตสูปจจุบัน

12. ทรัพยากรดึงดูดใจในแหลงทองเที่ยวคายบางกุง

13. การสื่อความหมายดานการทองเที่ยวเรื่องลึกลับแหงบางกุง

(10)

ตาราง 1 (ตอ)

โรงเรียน ชื่อโครงงาน

ถาวรานุกูล

จังหวัดสมุทรสงคราม

14. คายบางกุงเลื่องลือสื่อสารใหแกนักทองเที่ยว 15. คายบางกุงบานเราเพื่อการอนุรักษการทองเที่ยว 16. คายบางกุงถิ่นบานฉันเพื่อการทองเที่ยว 17. เฮฮาพาเที่ยวคายบางกุง

18. รอยอดีตจากบางกุงเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร

นอกจากนี้ไดมีการจัดอบรมเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย คือ การอบรมการวิจัยดานการทองเที่ยวและ แนวทางพัฒนาหลักสูตร ใหกับอาจารยที่ปรึกษาโครงการวันที่ 15-16 พฤษภาคม 2522 ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ผลการประเมินการอบรมอยูในระดับ พอใจมาก ซึ่งคะแนนประเมินเฉลี่ย 4 ขึ้นไปจาก 5 ระดับ สวนใหญมีความเห็นวา ควรมีการจัดอบรมใหความรูดานการทําวิจัยดานการทองเที่ยวอีก โดยขยายจํานวน วันในการอบรมเพิ่มมากขึ้น และควรจัดอบรมใหความรูกับนักเรียนที่ทําวิจัยในโครงงานทุกโครงงานดวย

วัตถุประสงคขอ 3 สรางโรงเรียนตนแบบในการนํากระบวนการวิจัยการทองเที่ยว ซึ่งเปนศาสตรบูรณา การมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอน และสรางหลักสูตรบูรณาการเชื่อมโยงกับการเรียนรูดานอื่นๆ ในทองถิ่น เพื่อตอบวัตถุประสงคขอนี้ คือ หลังจากเสร็จสิ้นโครงการยุววิจัยทองเที่ยวแลว สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สามารถนําโรงเรียนทั้งหมดที่เขารวมโครงการครั้งแรกเปนโรงเรียนตนแบบเพื่อขยายผลสูโรงเรียนอื่นๆ โดยนํา โรงเรียนตนแบบเหลานี้เปนพี่เลี้ยงใหกับโรงเรียนใหมที่เขารวมโครงการในปตอไป และอาจารยที่ปรึกษาโครงการก็

จะนําเนื้อหาและการดําเนินการจากโครงการมาบูรณาการกับหลักสูตรการเรียนการสอนในรายวิชาที่สอนได โดยมี

เอกสารหลักฐานนําสงใหสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวไทย ซึ่งทําใหเกิดกระบวนการเรียนรูอยางตอเนื่องใน การเรียนการสอนตอไป และบรรลุวัตถุประสงคของการทองเที่ยวอยางยั่งยืน และมีภุมิคุมกันตอไป

วัตถุประสงคขอ 4 สรางความภาคภูมิใจแกนักเรียนและครูทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ในการสรางขอมูลเพื่อพัฒนาทองถิ่น วัตถุประสงคขอ 5 สรางกําลังใจและความตระหนักของบทบาท สถาบันอุดมศึกษาในการเปนที่พึ่งของชุมชน และพัฒนาเปนหนวยเสนาธิการการพัฒนาในระดับทองถิ่นได

สําหรับวัตถุประสงคขอ 6 สรางความสัมพันธอันดีและกลไกการทํางานรวมกันระหวางภาคธุรกิจ สถาบันการศึกษาในระดับตางๆ ชุมชน และภาคีที่เกี่ยวของ วัตถุประสงคขอ 7 กระตุนใหภาคธุรกิจทองเที่ยวเกิด ความเขาใจชุมชนและประกอบธุรกิจดวยความสํานึกรักชุมชนบนฐานการใชทรัพยากรอยางมีคุณคา และ วัตถุประสงคขอ 8 กระตุนกระบวนการแกไขปญหาในระดับทองถิ่น โดยหนวยงานภาครัฐทองถิ่นที่รับผิดชอบ ทั้ง 5 วัตถุประสงคดังกลาวขางตนสามารถตอบไดจาก ขั้นตอนการประสานงานโครงการใหบรรลุผลอยางตอเนื่อง ตลอดโครงการ ผูประสานงานในเขตพื้นที่ ดําเนินการติดตอประสานงานกับอาจารยที่ปรึกษาโครงการ ซึ่ง ผูอํานวยการโรงเรียนมอบหมายใหเปนผูประสานงานภายในโรงเรียน ของแตละโรงเรียนเพื่อติดตามความกาวหนา เปนระยะๆ ดังนี้

(11)

ชวงเดือนกรกฎาคม 2552 ความกาวหนาของแตละโรงเรียนโดยภาพรวม มีดังนี้

1. โรงเรียนบานหวยหินดํา สุพรรณบุรี 3 โครงงาน พื้นที่ศึกษา คือ ชุมชนกะเหรี่ยง เรื่องการ อนุรักษการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมดวยการเดินโถกเถกของชุมชนกะเหรี่ยง การอนุรักษการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เพื่อฟนฟูการแตงกายชุดกะเหรี่ยง และรําตงในแหลงทองเที่ยวชุมชนกะเหรี่ยง

-คณะทํางานลงพื้นที่สํารวจชุมชนกะเหรี่ยงที่ อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี

-คณะทํางานสอบถามและสัมภาษณปราชญชาวบานและชุมชน ถึงความเปนมาของชุมชน กะเหรี่ยง ตลอดจนวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชน เพื่อเชื่อมโยงไปสูการทองเที่ยว

-คณะทํางานจะนัดประชุมกับผูเกี่ยวของในพื้นที่ ในวันที่มีการประชุมของ อบต. และชุมชนใน วันที่มีประชุมประชาคม และเขารวมสังเกตการณ

2. โรงเรียนบางพลีราษฎรบํารุง สมุทรปราการ 9 โครงงานในพื้นที่วัดบางพลีใหญใน (วัด หลวงพอโต) และวัดบางพลีใหญกลาง (วัดพระนอน) มีการดําเนินการดังนี้

-จัดประชุมครูที่ปรึกษาทุกโครงงาน โดยเชิญผูประสานงานเขตพื้นที่ภาคกลางไปบรรยายให

คําแนะนําแนวทางการดําเนินการวิจัย

-วางแผนการดําเนินงานและระดมสมองเพื่อปฏิบัติการจริง

-สํารวจเกี่ยวกับการลองเรือไหวพระ การลดภาวะโลกรอนโดยใชประโยชนจากขยะบริเวณวัด และการประชาสัมพันธวัดเผยแพรในระดับนานาชาติ วาจะตองการพัฒนาไปในแนวทางใดจึงจะเกิดประโยชนสูงสุด

-เรื่องภาษา ไดสํารวจในพื้นที่ศึกษาเกี่ยวกับถอยคํา สํานวน คําศัพทเฉพาะ ที่เปนสิ่งตองการ ใชในการสื่อสารกับนักทองเที่ยวตางชาติ

-จัดทําแบบสอบถามเพื่อสอบถามนักทองเที่ยว และเตรียมสัมภาษณผูเกี่ยวของ -เขียนโครงงานเพื่อดําเนินการปฏิบัติการในพื้นที่

3. โรงเรียนวัดปรมัยยิกาวาส นนทบุรี 15 โครงงาน ในพื้นที่เกาะเกร็ด มีการดําเนินการดังนี้

-จัดประชุมครูที่ปรึกษาทุกโครงงาน โดยเชิญผูประสานเขตพื้นที่ภาคกลางไปบรรยายให

คําแนะนําแนวทางการดําเนินการวิจัย

-เขียนโครงงานเพื่อวางแผนการดําเนินงานของแตละโครงงาน

-ศึกษาประวัติของแหลงทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร เชิงวัฒนธรรม และการละเลนพื้นบาน จากผูรู ภูมิปญญาทองถิ่น

-ดูงานโรงงานเครื่องปนดินเผาที่เกาะเกร็ดแลวฝกปฏิบัติการจริงเพื่อสาธิตใหนักทองเที่ยวดู

-สํารวจชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนเพื่อเตรียมการดําเนินงาน

-เตรียมแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ และกําหนดรายละเอียดในเรื่องที่จะตองเก็บขอมูล 4. โรงเรียนถาวรานุกูล สมุทรสงคราม 18 โครงงาน ในพื้นที่คายบางกุง มีการดําเนินการดังนี้

-สํารวจพื้นที่คายบางกุง อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

-ดําเนินการสอบถามและสัมภาษณชุมชน และเจาหนาที่ในพื้นที่เกี่ยวกับประวัติ ความเปนมา ของคายบางกุง

-จัดประชุมเพื่อการดําเนินงานของแตละโครงการ และวางแผนการเก็บขอมูล

(12)

-ประชุมระดมสมองเพื่อเขียนโครงงานในการลงมือปฏิบัติการ และติดตอประสานงานทําการ ขออนุญาตหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อทําการศึกษาวิจัย

ในชวงเดือนสิงหาคม 2552

ผูประสานงานไดติดตอกับอาจารยที่ปรึกษาที่เขารวมโครงการแตละโรงเรียน เพื่อใหคําแนะนํา เกี่ยวกับกระบวนการดําเนินงาน ระเบียบวิธีวิจัย การเก็บขอมูล การสรางแบบสอบถาม รูปแบบการเขียนรายงาน ในชวงเดือนพฤศจิกายน 2552

ผูประสานงานไดลงพื้นที่ศึกษากระบวนการดําเนินงานทุกโครงงานเพื่อรับรูปญหา และอุปสรรค พบวา ครูที่ปรึกษา และนักเรียน มีความพยายามและมีความตั้งใจในการดําเนินงานมาก ซึ่งจากการสัมภาษณ

นักเรียนแตละโครงงานของทุกโรงเรียน ชอบลงพื้นที่ศึกษา เปนการศึกษานอกหองเรียนไดเปลี่ยนบรรยากาศ และ ไดเรียนรูจากของจริง ทําใหไมเบื่อ ไมเครียด อีกทั้งยังไดเขาไปรวมกิจกรรมกับชุมชน ไดพูดคุย ซักถาม คนในพื้นที่

ภูมิปญญาทองถิ่น นอกจากนี้ครูที่ปรึกษาและนักเรียนไดนําเสนอผลการดําเนินงานทุกโครงงานใหผูประสานงาน ไดรับทราบ ซึ่งบรรลุวัตถุประสงคทั้งการสรางความภาคภูมิใจในทองถิ่น การสรางกําลังใจกับทีมงาน การสราง เครือขายภายนอกในการใหความรวมมือและเรียนรูรวมกัน เกิดการเชื่อมโยงกับกิจกรรมอื่นๆ ในทองถิ่นอีกดวย

จากการลงพื้นที่สังเกตการณแตละโรงเรียน ทําใหทราบประเด็นการดําเนินงานของแตละโรงเรียน คือ การดําเนินงานของทีมงาน ปญหา อุปสรรค แนวทางแกไข การเรียนรูที่เกิดจากกระบวนงานวิจัยและเครือขายที่

เกิดขึ้น รายละเอียดจากการสังเคราะหการศึกษาโครงงานยอยของนักเรียนแตละโรงเรียน มีดังนี้

1. โรงเรียนบานหวยหินดํา จังหวัดสุพรรณบุรี เรื่องการอนุรักษการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดวยการเดินโถกเถกของชุมชนกะเหรี่ยง การอนุรักษการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อฟนฟูการแตงกายชุดกะเหรี่ยง และรําตงในแหลงทองเที่ยวชุมชนกะเหรี่ยง

-ประเด็นที่ 1 การดําเนินงานของทีมงาน

คณะผูวิจัยไดศึกษา สอบถาม สัมภาษณ ผูรู ปราชญชาวบานในชุมชนกะเหรี่ยงหวยหินดํา เกี่ยวกับประวัติความเปนมาในการเดินไมไผ ในเรื่องเครื่องแตงกายชุดกะเหรี่ยง และรําตง ซึ่งเปนการละเลน พื้นบานของชาวกะเหรี่ยง ดําเนินการโดยเผยแพรใหนักทองเที่ยวรูและมาเที่ยวในแหลงทองเที่ยวชุมชนกะเหรี่ยง มากขึ้น ไดเขารวมกิจกรรมออกคายที่โรงเรียนกับผูมาเยือนและเขารวมเดินขบวนแหเทียนพรรษาและงานทิ้ง กระจาดของจังหวัดสุพรรณบุรี และสืบตอจากกิจกรรมนั้นมีรายการฟาเมืองไทยใชเลยมาติดตอขอทํารายการ เพื่อ เผยแพรโรงเรียนและกิจกรรมในโรงเรียนผานสื่อหลายรายการใหนักทองเที่ยวและประชาชนทราบ

-ประเด็นที่ 2 ปญหา อุปสรรค แนวทางแกไข

ขาดแคลนผูรูที่มีความสามารถในการเดินโถกเถก ในการทอผา และในการรําตง เพื่อจะ สอบถามขอมูล คนในชุมชนไมนิยมวิถีชีวิตดังกลาว แนวทางแกไขคือ โรงเรียนไดจัดทําหลักสูตรเพื่ออนุรักษ

กิจกรรมเหลานี้ไว และพัฒนากิจกรรมเหลานี้ ใหนาสนใจมากขึ้นเพื่อใหนักทองเที่ยวชม โดยมีกิจกรรมการเรียนการ สอนนอกสถานที่ทั้งในหมูบานและในโรงเรียน เปนกิจกรรมที่นักเรียนไดทําการปฏิบัติจากของจริง ไดรับประโยชน

จากการฝกปฏิบัติและไดรับความเพลิดเพลินอีกดวย

Referensi

Dokumen terkait

การท าต้นแบบ prototype model โดยเครื่องมือ คือ แบบสรุปการออกแบบ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก3D และผู้จัดท า คือ นักออกแบบ และนักคอมพิวเตอร์กราฟิก3D ตอนที่ 3

แก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา บริหารงานอาคารสถานที่ต่าง ๆ ให้มีความสะดวก ปลอดภัย สะอาด สวยงาม มีบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดี และผลงานวิจัยของ พิศสมัย หมกทอง 2554 ที่ศึกษาวิจัย เรื่อง