• Tidak ada hasil yang ditemukan

EFFECT OF BRASSINOSTEROID MIMIC ON PHOTOSYNTHESIS AND GROWTHOF RICEBERRY UNDER DROUGHT STRESS

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "EFFECT OF BRASSINOSTEROID MIMIC ON PHOTOSYNTHESIS AND GROWTHOF RICEBERRY UNDER DROUGHT STRESS"

Copied!
220
0
0

Teks penuh

ในช่วงระยะเจริญพันธุ์ ต้นข้าวปลูกภายใต้สภาวะความเครียดจากภัยแล้งในระยะสั้น (5 วัน) และฉีดพ่นด้วย DHECD กิจกรรมของเอนไซม์ต้านอนุมูลอิสระ ได้แก่ catalase (CAT) ของต้นข้าวที่เผชิญกับความเครียดจากภัยแล้ง

องค์ประกอบของต้นข้าว

ช่วยลดและส่งผลต่อกระบวนการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในการสังเคราะห์ด้วยแสง และทำลายเม็ดสีที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ลดกิจกรรมของเอนไซม์ และลดกิจกรรมภายในระบบภาพถ่ายในพืช (Jain et al., 2010) สภาวะความเครียดจากความร้อน (Thussagunpanit et al., 2014) มีรายงานว่า

โครงสร้างของสารบราสสิโนสเตียรอยด์

โครงสร้างสารบราสสิโนสเตียรอยด์มิมิก

กระบวนการสังเคราะห์สาร DHECD

0 ของการทดลองที่ฉีดพ่นด้วย DHECD ในการทดลองนี้ได้ทำการฉีดพ่น DHECD แก่ต้นข้าว 2 ระยะ ดังนี้ ผลของ DHECD ต่อจำนวนรวงข้าว ผลของ DHECD ต่อน้ำหนักหัวของข้าวที่ได้รับความเครียดจากความแห้งแล้งในระยะเจริญพันธุ์

ความยาวรวงไม่แตกต่างจากต้นข้าวไรซ์เบอร์รี่ที่ไม่ได้รับความเครียดจากความแห้งแล้งและไม่ได้รับการฉีดพ่นด้วย DHECD และที่ไม่ได้รับความเครียดจากความแห้งแล้งและไม่ได้รับการฉีดพ่นด้วย DHECD ที่ฉีดพ่นด้วย DHECD ที่ความเข้มข้น 1 ไมโครโมลาร์ ความยาวส่วนหัวไม่ แตกต่างจากข้าวไรซ์เบอรี่

การเกิด Calvin cycle

กราฟแสดงการเกิด Chlorophyll fluorescence

โครงสร้างคลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ บี

การดูดกลืนแสงของคลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ บี

โครงสร้างแคโรทีนอยด์

แตกต่างเมื่อเทียบกับต้นข้าวไรซ์เบอร์รี่ที่ถูกความเครียดจากภัยแล้งและได้รับ DHECD 1.5 µm (รูปที่ 21 ฉีดพ่นด้วย DHECD 1 µm ในวันที่ 5 และ 20 ของการทดลอง 149 ผลของ DHECD ต่อความยาวของหัวข้าวที่เกิดความเครียดจากภัยแล้ง ข้าวในระยะสืบพันธุ์

151 ผลของ DHECD ต่อความยาวของเมล็ดข้าวไรซ์เบอร์รี่ที่ได้รับความเครียดจากภาวะแห้งแล้งในระบบสืบพันธุ์

โครงสร้าฟลาโวนอยด์ (Flavonoid structure)

โครงสร้างของโพรลีน (Proline structure)

กระบวนการสังเคราะห์และสลายโพรลีนในพืชชั้นสูง

การเกิดอนุมูลอิสระและการก าจัดภายในเซลล์พืช

41 ตอนที่ 2 การหาระดับความเข้มข้นของสาร DHECD ที่เหมาะสมกับต้นข้าวไรซ์เบอรี่ภายใต้. เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความเข้มข้น 1.5 ไมโครโมลาร์ มี. เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความเข้มข้น 1.5 ไมโครโมลาร์ มี. P0.05) ต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความเข้มข้น 1 ไมโครโมลาร์ มีคลอโรฟิลล์รวม ไม่แตกต่าง เมื่อเทียบกับต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียด จากสภาวะแล้ง ต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความ. ปริมาณแคโรทีนอยด์ ไม่แตกต่าง เมื่อเทียบกับชุดควบคุมที่ไม่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้ง ต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความเข้มข้น 1 ไมโคร โมลาร์ มีปริมาณแคโรทีนอยด์ ไม่แตกต่าง เมื่อเทียบกับต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจาก สภาวะแล้ง ต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความ เข้มข้น 1.5 ไมโครโมลาร์ มีปริมาณแคโรทีนอยด์ ไม่แตกต่าง เมื่อเทียบกับต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับ ความเครียดจากสภาวะแล้ง ต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความเข้มข้น 1ไมโครโมลาร์ มีปริมาณแคโรทีนอยด์ ไม่แตกต่าง เมื่อเทียบกับต้นข้าวไรซ์.

153 ผลของ DHECD ต่อความหนาของเมล็ดข้าวที่สัมผัสกับความเครียดจากภัยแล้ง

สมการการท างานของเอนไซม์ Catalase (CAT)

ระยะการพ่นสาร DHECD และการจ าลองสภาวะแล้งให้แก่ต้นข้าวไรซ์เบอรี่

ระดับความเข้มข้นของ DHECD ที่มีต่อค่าประสิทธิภาพการสังเคราะห์ด้วยแสง(

มีปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ ไม่แตกต่าง เมื่อเทียบกับชุดควบคุมที่ไม่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้ง ต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความเข้มข้น 1.5 ไม โครโมลาร์ มีปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ ไม่แตกต่าง เมื่อเทียบกับชุดควบคุมที่ไม่ได้รับความเครียดจาก สภาวะแล้ง ต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความ เข้มข้น 1 ไมโครโมลาร์ มีปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ ไม่แตกต่าง เมื่อเทียบกับต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับ ความเครียดจากสภาวะแล้ง ต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความเข้มข้น 1.5 ไมโครโมลาร์ มีปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ ไม่แตกต่าง เมื่อเทียบกับต้นข้าว ไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้ง ต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้ง และได้รับสาร DHECD ความเข้มข้น 1ไมโครโมลาร์ มีปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ ไม่แตกต่าง เมื่อ เทียบกับต้นข้าวไรซ์เบอรี่ที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งและได้รับสาร DHECD ความเข้มข้น 1.5 ไมโครโมลาร์ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P0.05) (ภาพประกอบ 20. อยู่ภายในใบพืช (Castelli & Contillo, 2011) ซึ่งโดยปกติเมื่อพืชได้รับความเครียดจากสภาวะแล้ง จะส่งผลให้ปริมาณคลอโรฟิลล์ลดลงเนื่องจากการสะสม Reactive oxygen species (ROS) ภายในเซลล์มีผลไปท าลายกระบวนการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ และโครงสร้างของคลอโรฟิลล์. เห็นว่าสาร DHECD 1 ไมโครโมลาร์ สามารถเพิ่มค่า SPAD value ได้มากกว่าเมื่อเทียบกับชุดที่. ปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ คลอโรฟิลล์ บี คลอโรฟิลล์รวม และแคโรทีนอยด์ ซึ่งเป็นรงควัตถุ. Pathum Thani 1) ที่ได้รับความเครียดจากความร้อนได้ พบว่าสาร DHECD มี. Pathum thani 1) ที่ได้รับการพ่นด้วยสาร DHECD ความ เข้มข้น 10-7 โมลาร์ ภายใต้สภาวะความเครียดจากความร้อน พบว่าต้นข้าวปทุมธานี 1 มีการ สะสมปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ คลอโรฟิลล์ บี คลอโรฟิลล์รวม และแคโรทีนอยด์ เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบ กับชุดควบคุมที่ได้รับความเครียดจากความร้อน แต่ไม่ได้รับการพ่นด้วยสาร DHECD (Thussagunpanit et al., 2014) นอกจากนี้ยังมีรายงานผลการทดลองของสารในกลุ่ม บราสสิโนส เตียรอยด์ที่สามารถเพิ่มปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ คลอโรฟิลล์ บี คลอโรฟิลล์รวม และแคโรทีนอยด์. ภายในพืชที่ได้รับความเครียดจากสภาวะแล้งได้ เช่นงานวิจัยของ Li et al.

185 DHECD และบราสซิโนสเตียรอยด์ ทำให้มีการสะสมของ MDA ด้านล่างเพิ่มขึ้น และการศึกษาโดย Shopova และคณะ

ระดับความเข้มข้นของ DHECD ที่มีต่อค่า Performance index (Pi) ของต้นข้าว

ระดับความเข้มข้นของ DHECD ที่มีต่อค่าความเขียวของใบ (SPAD Value) ของ

Referensi

Dokumen terkait

The role of teachers and students becomes critical in this scenario, as it is their perceptions and attitudes that are critical for motivation and learning (Kulal & Nayak,