• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE TAKHRIJ AL-HADITHS ABOUT THE ISRA AND MIRAJ EVENT THAT IS OFTEN MENTIONED IN MALAYU PENINSULAR

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE TAKHRIJ AL-HADITHS ABOUT THE ISRA AND MIRAJ EVENT THAT IS OFTEN MENTIONED IN MALAYU PENINSULAR"

Copied!
13
0
0

Teks penuh

(1)

THE TAKHRIJ AL-HADITHS ABOUT THE ISRA AND MIRAJ EVENT THAT IS OFTEN MENTIONED IN MALAYU

PENINSULAR

Muhammad Umudee; Mutsalim Khareng; Sodikeen Doloh Princess of Naradhiwas University, Thailand

muhammad.u@pnu.ac.th

Abstract: This qualitative research aimed to study 1) general knowledge about Hadiths documentation 2) to studying Hadith and Takhrijhadith in the events of Isra’ and Mi’raj era mentioned in Melayu Peninsular.

Documentary Research Data were collected from Al-Quran, Al-Hadith, books, and history books. Diagnose from hadiths scholars, documents and research work relating to the events of Isra’ and Mi’raj. Data were analyzed using descriptive content detail. The results of the study showed that 1) Takhrijusing one of the words in the Hadith verse, second method is using first words of the Hadith text, Takhrijusing topic of Hadith, Takhrijusing the highest name of the reporter and Takhrijusing information technology 2) This miracle events can be taken as a lesson and can applied to the real life and this events showed this was happened by Allah (S.H) rules , it was not from common human creation. There are 10 Hadiths which were mostly mentioned in Melayu Peninsular during Isra’ and Mi’raj event, they are 4 Hadith Sahih, 4 Hadith Doif and 2 Hadith Maudu

Keywords : Takhrij hadith; Isra; Miraj; Malayu Peninsular

บทค ัดย่อ

งานวิจัยนี*มีวัตถุประสงค์เพื8อ 1)

ศึกษาความรู ้ทั8วไปเกี8ยวกับการตัครีจญ์ฮะดีษ และ2) ศึกษา ฮะดีษและตัครีจญ์ฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์ที8มักกล่าวในแหลมมลายู เป็นงานวิจัยเชิงเอกสาร

(Documentary Research)

ซึ8งรวบรวมข ้อมูลเอกสารจากแหล่งปฐมภูมิ ได ้แก่ คัมภีร์

อัลกุรอาน อัลฮะดีษ และแหล่งทุติยภูมิ ได ้แก่ หนังสือ ตําราประวัติศาตร์ คําวินิจฉัยของบรรดานักปราชญ์ฮะดีษ และงานวิจัยที8เกี8ยวกับเหตุการณ์อิสรออ์ มิอฺร็อจญ์

แล ้วใช ้วิธีวิเคราะห์เนื*อหาจากเอสารที8เกี8ยวข ้องโดยใช ้วิธีเชิงพ รรณนา (Descriptive Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) การตัครีจญ์ฮะดีษ มีการใช ้คําหนึ8งคําใดในตัวบทฮะดีษ ใช ้คําเเรกของตัวบทฮะดีษ ใช ้หัวข ้อเรื8องของฮะดีษ ใช ้ชื8อผู ้รายงานสูงสุด และใช ้สารสนเทศ 2) เหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์ มิใช่เกิดขึ*นด ้วยกฎเกณฑ์ของมนุษย์ธรรมดา ส่วน ฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์ มิอฺร็อจญ์ 10

(2)

572

ฮะดีษประกอบด ้วย ฮะดีษเศาะฮีหฺ จํานวน 4 บท ฮะดีษฮะเฎาะอีฟจํานวน 4 บท และฮะดีษเมาฎูอ์ 2 บท

คําสําค ัญ ตัครีจญ์ ฮะดีษ อิสรออ์ มิอฺร็อจญ์ แหลมมลายู

บทนํา

ฮะดีษ

คือแหล่งที8มาของบทบัญญัติอิสลามที8สองหลังจากอัลกุรอาน ทั*งนี*ฮะดีษจะมายืนยันในสิ8งในสิ8งที8อัลกุรอานได ้บัญญัติ

อรรถาธิบายความหมายของอัลกุรอาน ให ้ชัดเจนยิ8งขึ*น หรือกําหนดบทบัญญัติในสิ8งที8อัลกุรอานมิได ้บัญญัติไว ้

(มุสตอฟา อัสวิบาอีย์, 2015)

ดังนั*นสิ8งใดที8มีหลักฐานถูกต ้องว่าเป็นฮะดีษสิ8งนั*นเป็นสิ8งที8จําเ ป็นสําหรับมุสลิมทุกคนต ้องปฏิบัติตามยึดถือ เช่น อัลกุรอานดังที8อัลลอฮฺ

ได ้ทรงตรัสว่าและสิ8งใดก็ตามที8ศาสนทูตนํามายังพวกเจ ้าก็จงยึ

ดเอาไว ้ และอันใดที8ท่านนะบี ได ้ห ้ามพวกเจ ้าก็จงละเว ้นเสีย พวกเจ ้าจงยําเกรงอัลลอฮฺเถิด แท ้จริงอัลลอฮฺ

เป็นผู ้ทรงเข ้มงวด ในการลงโทษ”(อัลกุรอานซูเราะฮ์ อัลหัชร์

อายะที87)

ฮะดีษของท่านนะบีเป็นแหล่งที8มาบทบัญญัติของศาสนา อิสลามซึ8งศาสนาอิสลามจะไม่

สมบูรณ์และจะไม่ครอบคลุมเนื*อหาต่างๆที8เกี8ยวข ้องหากปราศจ ากฮะดีษ

ดังนั*นฮะดีษของท่านนะบีจึงมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล ้ชิดกับ อัลกุรอานโดยไม่สามารถแยกออกจากกันได ้ พระองค์อัลลอฮฺ

ยังได ้รับรองอีกด ้วยว่าคําพูดของท่านะบีมุฮัมมัดยังเป็นวะห์ฮีขอ งอัลลอฮฺอีกด ้วยอัลลอฮฺ

ฮะดีษเป็นศาสตร์ที8ยิ8งใหญ่และมีความสําคัญอย่างมากเพ ราะฮะดีษยังเป็นที8ยืนยันในสิ8งที8งดงามได ้บัญญัติไว ้เพื8ออรรถาธิ

บายความหมายของคัมภีร์อัลกุรอานและ ฮะดีษของท่านนะบีมุฮัมมัด

เป็นแหล่งที8มาของบทบัญญัติของศาสนาอิสลามเป็นอันดับสอ

(3)

573

งรองจากอัลกุรอานดังนั*นจึงทําให ้บรรดาเศาะฮะบะฮ์

ได ้ตระหนักถึงความสําคัญของฮะดีษของท่านนะบีพวกเขาจึงมี

ความตระหนักในการจดบันทึกของฮะดีษท่านนะบีมุฮัมมัด บรร ดาตะบีอีนและยังปกป้องฮะดีษจะผู ้ไม่หวังดีดังนั*นจึงทําให ้บรร ดาปราชญ์มุสลิมโดยเฉพาะปราชญ์สาขาวิชาฮะดีษให ้ความสน ใจที8จะตรวจสอบสถานภาพของตัวบทฮะดีษเพราะฮะดีษที8ถูกต ้ องได ้ปะปนกับฮะดีษกับฮะดีษไม่ทราบแหล่งที8มาของฮะดีษ ทั*งนี*จึงทําให ้การตรวจสอบสายรายงานมีความจําเป็นอย่างยิ8ง รายงานของท่านอับดุลอฮ บินนุ มุบาร็อก ฮ.ศ.181 กล่าวว่า สายรายงาน

อิสนาดนับเป็นส่วนหนึ8งของศาสนาอิสลามหากไม่มีสายรายงา นแล ้ว บุคคลได ้ก็สามารถพูดในสิ8งที8ตัวเองอยากพูด เพราะเหตุนี*จึงทําให ้การตัครีจญ์ฮะดีษมีความจําเป็นอย่างยิ8ง (มุสตอฟา อัสวิบาอีย์,2015)

การตัครีจญ์เป็นศาสตร์แขนงหนึ8งที8มีความสําคัญยังมากเพร าะการตัดรีจญ์จะทําให ้ผู ้ศึกษารู ้ตัวบทที8ถูกต ้องของฮะดีษนะบี

เนื8องจากฮะดีษที8ประกฎตามหนังสือต่างๆ

นั*นมีจํานวนมากซึ8งมีทั*งฮะดีษเศาะฮีหฺ (ถูกต ้อง) ฮะดีษเฎาะอีฟ (อ่อนแอ) บางทีก็เป็นฮะดีษ เมาฎูอ (ถูกอุปโลกน์) ขึ*นมาซึ8งไม่สามารถนํามาเป็นหลักฐานเพื8อยึดถือปฏิบัติได ้ (อับดุลรอฮ์มาน จะปะกิยา,2560)

เหตุการณ์อิสรออ์ และมิอฺร็อจญ์เป็นหนึ8งใน (มัวะอุญิซาต) ที8อัลลอฮฺ

ทรงประทานมายังนะบีมุฮัมมัดเพื8อยืนยันถึงเป็นการรอซูลของพ ระองค์

เพราะว่าเหตุการณ์นี*เกิดขึ*นเนื*อเหตุการณ์ปกติเป็นการเดินทาง ของนะบีมุฮัมมัดในยามคํ8าคืนจากนครมักกะฮุไปยัง บัยตุล มักดิส

หรือกรุงเยรูซาเล็มการเดินทางระหว่างเมืองทั*งสองนี*ตามธรรม ดาจะต ้องใช ้เวลา 1 เดือนและกลับอีก 1 เดือน แต่ท่านนะบีใช ้เวลาเดินทางเเพียงข ้ามคืนเหตุการณ์นี*ด ้วยสร ้าง ความประหลาดใจให ้แก่ผู ้คนในเมืองมักกะฮฺและกล่าวหาว่าท่า นเป็นผู ้พูดโกหกแต่ด ้วยความที8ท่านได ้เล่าถึงสิ8งที8ท่านได ้พบจึ

(4)

574

งทําให ้บางกลุ่มศรัทธาและบางกลุ่มไม่ศรัทธา เหตุการณ์อิสรออ์

และมิอฺร็อจญ์เป็นเหตุการณ์ที8มีความสําคัญซึ8งเกี8ยวข ้องหลักศรั

ทธาและ

ศาสนบัญญัติในศาสนาอิสลามซึ8งทําให ้เกิดประเด็นปัญหาต่างๆ มากมาย (มูนีร มูหะมัด,2555)

ดั*งนั*นผู ้วิจัยมองเป็นประเด็นปัญหาในการวิจัยครั*งนี*

สาเหตุหลักๆ ก็คือ ในทุกๆ ปีมีการกล่าว หรือ อ่าน บรรยาย

ประวัติเหตุการณ์อิสรออ์ และมิอฺร็อจญ์

และฮะดีษที8ยกมาอ ้างส่วนใหญ่เป็นฮะดีษไม่ปรากฎแหล่งที8มา

อย่างชัดเจน และการ ตัครีจญ์ฮะดีษ

เป็นศาสตร์แขนงหนึ8งที8มีความสําคัญเป็นอย่างมาก

เพราะการตัครีจญ์จะทําให ้ผู ้ศึกษารู ้ถึงตัวบทที8ถูกต ้องของฮะดี

ษนะบีเนื8องจากฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์มิอร ้อจญ์ที8กล่าวในแ หล่งมลายู มีทั*งฮาดิษเศาะฮีหฺ (ถูกต ้อง) ฮะดีษเฎาะอีฟ (อ่อนแอ) บางที8 ก็ฮะดีษเป็นเมาฎูอถูก (อุปโลกน์) ขึ*นมาซึ8งไม่สามารถนํามาเป็นหลักฐานเพื8อยึดหรือปฏิบัติได ้ซึ8ง ผู ้วิจัยมองเป็นประเด็นปัญหาในการศึกษาสารนิพนธ์ในครั*งนี*

เพื8อนําผลการวิจัยออกเผยแพร่โดยนําไปใช ้ประกอบการเรียนก ารสอนในในสังคมมุสลิมเช่นตามปอเนาะและมัสยิดต่างๆ

เพื8อให ้ประชาชาติมุสลิมได ้ศึกษาเรียนรู ้ถึงสถานภาพของฮะดีษ

ที8ว่าด ้วยเหตุการณ์อิสรออ์ มิอฺรออ์

และสามารถแยกแยะระหว่าง ฮะดีษที8อนุญาตนําไปใช ้เ ป็นหลักฐานและฮะดีษที8ไม่อนุญาตนําไปใช ้เป็นหลักฐาน

ว ัตถุประสงค์

1.

เพื8อศึกษาความรู ้ทั8วไปเกี8ยวกับการตัครีจญ์ฮะดีษ

2. ศึกษาฮะดีษและตัครีจญ์ฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร์อร์อจญ์

ประโยชน์ที;คาดว่าจะได้ร ับ

(5)

575

1.

ได ้ทราบถึงความรู ้ทั8วไปเกี8ยวกับการตัดรีจญ์ฮะดีษ

2. ได ้ทราบถึงฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์ มิอฺร็อจญ์

ที8มักกล่าวในแหลมลายูพร ้อม สถานะของฮะดีษ ขอบเขตของการวิจ ัย

การวิจัยครั*งนี* เป็นการวิจัยการตัครีจญ์ฮะดีษ

ฮะดีษในเหตุการณ์ อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์ที8มักกล่าวในที8แหลมมลายู

ผู ้วิจัยได ้กําหนดขอบเขตการวิจัยดั8งนี* คือ ตัครีจญ์ฮะดีษ 10

ฮะดีษ ในเหตุการณ์อิสออ์ มิอฺร็อจญ์

ที8มักกล่าวหรือพูดถึงสังคมในแหลมมลายู

ระเบียบวิธีวิจ ัย

1. รูปแบบการวิจ ัย

การวิจัยหัวข ้อเรื8องวิจัยตัครีจญ์ฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์ที8มักกล่าวในแหลมมลายู

วิจัยเชิงคุณภาพโดยเก็บข ้อมูลจากเอกสารต่างๆ

ข ้อมูลวิจัยเอามาจากการศึกษาวิจัยเอกสาร (Documentary Research) ได ้แก่ เอกสาร 2 แหล่งที8สําคัญที8สําคัญ คือ

2 เอกสารเอกสารปฐมภูมิ (primary sources)

1. ฮะดีษที8เกี8ยวของกับเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์

2. หนังสือฮะดีษที8ระบุตัวบทฮะดีษจากกุตุบซิตตะฮ์

เช่นเศาะฮีหฺอัลบุคอรีเศาะฮีหฺเศาะฮีหฺมุสลิม ซุนันอบีดาวูด ซุนันอัต-ติรมีซีย์ ซุนันอิบนิมาญะฮุ

3 เอกสารทุติยภูมิ (secondary sources)

1. หนังสืออธิบายฮะดีษ เช่น หนังสือฟัตหุอัลบารีย์

เอานุ ้ลมะอบูด ตุฮฟะตุ ้ล อะฮุวะและชุอบุ ้ล อีมาน เป็นต ้น

(6)

576

2. หนังสือตัครีจญ์ฮะดีษ เช่น อิรวาอ์ อัลเฆาะลีลุ

ของชัยคูนัสรุดดีน อัลบานีย์ และนัศบุอัรรอยะฮุ

ของชัยคุอับดับดุลลอฮ์ เย็น ยูซุฟ อัลซัยละอีย์

เป็นต ้น 3.

หนังสือพจนานุกรมอธิบายศัพท์ภาษาอาหรับที8ที8เป็นภาษาไทย

4. ข ้อมูลจากอินเตอร์เน็ตในเว็บไซต์ต่างๆ 4 การเก็บรวบรวมข้อมูล

ในการวิจัยครั*งนี* ผู ้วิจัยใช ้หลักเกณฑ์

และแนวทางการเก็บรวบรวมข ้อมูลโดยใช ้หลักการตัรตีบ (เรียบเรียง) ดังต่อไปนี*

1.

ศึกษาความรู ้ทั*วไปเกียวกับการตัครีจญ์ฮะดีษ

2. ศึกษาฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์ที8มักกล่าวในแหลมมลายู

3. รวบรวมฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์ที8มักกล่าวในแหลมมลายูพร ้อมทั*งตรวจสอบสถานะฮะ ดีษ

5 เครื;องมือที;ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

เครื8องมือที8ใช ้ในการเก็บรวบรวมข ้อมูลเพื8อการวิจัย มีดังนี*

1. เครื8องมือที8ใช ้ในการเก็บรวบรวมข ้อมูล แบบบันทึกซึ8งประกอบด ้วยข ้อมูลเอกสารและข ้อมูลเนื*อหาของ แต่ละหัวข ้อ

2. ฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์ มิอฺร็อจญ์

ที8มักกล่าวในแหลมลายู

คอมพิวเตอร์ที8ใช ้สําหรับเก็บรวบรวมข ้อมูลเกี8ยวกับฮะดีษ 3.

ที8ผู ้วิจัยต ้องการตัครีจญ์ โดยใช ้โปรแกรมสําเร็จรูปได ้แก่

อัลมักตะบะฮ์ อัซซามิละฮุ และ มักตะบะห์

อัลอิสลามมิยะฮและอื8นๆ

(7)

577

6 การวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิเคราะห์ข ้อมูลฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์ มิอฺร็อจญ์

ที8มักกล่าวมักในแหลมลายูผู ้วิจัย จะวิเคราะห์ดังนี*

1. ผู ้วิจัยจะรวบรวมฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร์ออญ์ที8มีมักการกล่าวในแหลมมลายู 2.

ผู ้วิจัยจะยกส่วนหนึ8งฮะดีษจากการกล่าวของบรรดาผู ้รู ้ 3.

ผู ้วิจัยจะศึกษาและประมวลคําวินิจฉัยของบรรดา นักปราชญ์ฮะดีษจากฮะดีษนั*นๆ

หลังจากนั*นผู ้วิจัยจะทําการระบุสถานภาพของฮะดี

ผลการวิจ ัย

จากข ้อมูลที8ได ้จากการวิจัย

ผู ้วิจัยขอสรุปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังต่อไปนี*

1. เพื;อศึกษาความรู้ท ั;วไปเกี;ยวก ับการต ัครีจญ์ฮะดีษ ตัครีจญ์คือ การชี*ถึงแหล่งที8มาของตัวบมฮะดีษ ที8เป็นแหล่งปฐมภูมิ และการนําเสนอแหล่งที8มาดังกล่าว พร ้อมแจกแจงสถานภาพของฮะดีษ

การตัครีจญ์ฮะดีษเป็นศาสตร์แขนงหนึ8งเพราะการตัครีจญ์ฮะดีษ จะทําให ้ผู ้ศึกษารู ้ถึงตัวบทที8ถูกต ้องของฮะดีษนะบี

เนื8องจากฮะดีษที8ปรากฎตามหนังสือต่างๆนั*นจํามีจํานวนมากที8 ไม่ทราบแหล่งมาของฮะดีษนั*นๆมีใครบ ้างเป็นคนที8จดบันทึก ซึ8งมี8ทั*งฮะดีษเศาะฮีหฺ (ถูกต ้อง) ฮะดีษเฏาะอีฟ (อ่อนแอ) บางที8ก็ฮะดีษที8ไม่ทราบแหล่งที8มา

ดั*งนั*นผู ้ที8สนใจที8จะศึกษาเกี8ยวกับฮะดีษอย่างลึกซึ*งจําเป็นอย่า งบิ8งที8จะต ้องรู ้วีธีการตัครีจย์ฮะดีษเพื8อจะได ้แยกแยะออกว่าอัน ไหนฮะดีษเศาะฮีหฺ และอันไหนฮะดีษเฏาะอีฟ และอันไหนฮะดีษเมาฎูอ์

2.

ศึกษาฮะดีษและต ัครีจญ์ฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์

(8)

578

เหตุการณ์อิสรออ์ มิอฺร็อจญ์

เป็นเหตุการณ์ที8เกิดขึ*นจริงดังที8อัลลอฮฺ

ตรัสในอัลกรุอาน ซูเราะห์ อัลอิสรออ์ อายะที8 1 เหตุการณ์นี*เกิดขึ*นกับท่านนะบีมุฮัมมัด

เป็นเหตุการณ์ที8อัลลอฮฺ มอบรางวัลให ้กับท่านนะบีมุฮัมมัด เป็นอุบัติการณ์อันยิ8งใหญ่ที8สร ้างเกียรติประวัติ

ให ้แก่ท่านนะบีมุฮัมมัด และแก่ประชาชาติมุสลิม ทั*งนี*เพราะเหตุการณ์นี*เป็นปาฏิหารย์ (มัวะอุญิซาต)

ของท่าน นะบีมุฮัมมัด โดยเฉพาะ

และไม่มีนบีท่านใดได ้รับเกียรติมาก่อนเลยในการขึ*นไปสู่ฟากฟ้

าด ้วยร่างกายและจิตวิญญาณพร ้อมกันไปจนถึง ชิดรอตุลมุนตะ ฮา เพื8อเข ้าเฝ้าอัลลอฮฺ

และยังถือได ้ว่าอุบัติการณ์นี*เป็นการให ้สัตยาบันของบรรดานบีแ ก่ท่านนะบี อีกด ้วย ในฐานะที8ท่านเป็นผู ้นําแห่งบรรดานะบี

แม ้ว่าท่านจะเป็นนบีสุดท ้ายก็ตาม เหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์เป็นเหตุการณ์ที8มีความสําคัญ ซึ8งเกี8ยวข ้องห ลักศรัทธาและสาสนาบัยญัติในศาสนาอิสลาม

โดยเฉพาะเรื8องของการละหมาดที8อัลลอฮฺ

ทรงประสงค์ให ้ท่านนะบี ไปรับวะหยูสาส์นแห่งการละหมาด โดยตรงจากพระองค์อัลลอฮฺ เป็นการส่งสัญญาณบอกให ้รู ้ว่า เรื8องของการละหมาดเป็นเรื8องสําคัญสูงสุดในชีวิตของผู ้ศรัทธา ผู ้ศรัทธาจะต ้องละหมาด ผู ้ศรัทธาจะต ้องไม่ขาดละหมาด ผู ้ศรัทธาจะต ้องละหมาดตรงตามเวลา ไม่ใช่ละหมาดตามเวลา ตรงตามเวลาไม่ใช่ปล่อยเวลาหมดก่อนแล ้วก็ละหมาดตามทีหลั

ง นั8นคือตามละหมาดตามเวลา

มันมีค่ามีราคาที8เกินจะบรรยายได ้ ฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์ที8มักกล่าวในแหลมมลายู 10

ฮะดีษจําแนกฮะดีษดังนี* ฮะดีษเศาะฮีหุจํานวน 4 บท ฮะดีษเฎาะอีฟจํานวน 4 บทและฮะดีษเมาฎูอ์จํานวน 2 บท

ในส่วนมาก มีทั*งฮะดีษทั*งเศาะฮีหุ

และก็มีบ ้างทั*งฮะดีษเฎาะอีฟ และฮะดีษเมาฎูอ์

(9)

579

การอภิปรายผล

การวิจัยหัวข ้อเรื8อง ตัครีจญ์ฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์ที8มักกล่าวในเเหลมมลายู สามารถอภิปรายผลได ้ดังนี*

1. การตัครีจญ์ คือการชี*แจงถึงแหล่งที8มาตัวบทฮะดีษ ที8เป็นแหล่งปฐมภูมิและการนําเสนอแหล่งที8มาดังกล่าวพร ้อมแ จกแจ ้งสถานภาพของฮะดีษ

การตัครีจญ์ฮะดีษมีความสําคัญอย่างมากต่อสังคมมุสลิมและผู ้ ที8สนใจที8จะศึกษาสถานภาพของฮะดีษ

เพราะฮะดีษนั*นมีผู ้คนที8รายงานมากมายจะทําให ้ไม่รู ้ว่าฮะดีษนั*

นมีสถานภาพเป็นอย่างไรบ ้าง จะเป็นฮะดีษ เศาะฮีหุ

ฮะดีษเฎาะอีฟ หรือฮะดีษ ที8ถูกแต่งขึ*นมาเองฮะดีษเมาฎูอ์

ซึ8งฮะดีษเมาฎูอ์

จะไม่สามารถนําไปเป็นหลักฐานอ ้างอิงหรือยึดถือไปปฏิบัติไม่ไ ด ้ดังนั*นผู ้ที8สนใจที8จะศึกษาเกี8ยวกับ

ฮะดีษลึกซึ*งจําเป็นอย่างยิ8งที8เขานั*นจะต ้องรู ้วิธีการตัครีจญ์ฮะดี

ษเพื8อจะได ้แยกเเยะออก วิธีการตัครีจญ์มีหลายวิธีด ้วยการมี 5

วิธี หลักๆ คือ 1.

วิธีที8หนึ8งการตัครีจญ์โดยใช ้คําหนึ8งคําใดในตัวบทฮะดีษ 2.

วิธีที8สองการตัดครีจญ์โดยใช ้คําเเรกของตัวบทฮะดีษ 3.

การตัครีจญ์ฮะดีษโดยใช ้หัวข ้อเรื8องของฮะดีษ 4.

การตัครีจญ์โดยใช ้ชื8อผุ ้รายงานสูงสุด 5.

การตัครีจญ์ฮะดีษโดยใช ้สารสนเทศ

2. เหตุการณ์อิสรออ์มิอฺร็อจญ์

เป็นเหตุการณ์ที8เกิดขึ*นจริงดังที8อัลลอฮฺ

ตรัสในอัลกรุอานซูเราะห์อัลอิสรออ์ อายะที8 1 เหตุการณ์นี*เกิดขึ*นกับท่านนะบีมุฮัมมัด เป็นเหตุการณ์ที8อัลลอฮฺ

มอบรางวัลให ้กับท่านนะบีมุฮัมมัด

เป็นอุบัติการณ์อันยิ8งใหญ่ที8สร ้างเกียรติประวัติ ให ้แก่ท่าน

นะบีมุฮัมมัด และแก่ประชาชาติมุสลิม

ทั*งนี*เพราะเหตุการณ์นี*เป็นปาฏิหารย์ (มัวะอุญิซาต) ของท่านนะบีมุฮัมมัด

โดยเฉพาะและไม่มีนบีท่านใดได ้รับเกียรติมาก่อนเลยในการขึ*น ไปสู่ฟากฟ้าด ้วยร่างกายและจิตวิญญาณพร ้อมกันไปจนถึง

(10)

580

ชิดรอตุลมุนตะฮา

เพื8อเข ้าเฝ้าอัลลอฮฺและยังถือได ้ว่าอุบัติการณ์นี*เป็นการให ้สัตย าบันของบรรดานบีแก่ท่านนะบีอีกด ้วย

ในฐานะที8ท่านเป็นผู ้นําแห่งบรรดานะบี

แม ้ว่าท่านจะเป็นนบีสุดท ้ายก็ตาม

เหตุการณ์อิสรออ์มิอฺร็อจญ์เป็นเหตุการณ์ที8มีความสําคัยซึ8งเกี8ย วข ้องหลักศรัทธาและสาสนาบัยญัติในศาสนาอิสลามโดยเฉพา ะเรื8องของการละหมาดที8อัลลอฮฺ ทรงประสงค์ให ้ท่านนะบี

ไปรับวะฮ์ยู สาส์นแห่งการละหมาด

โดยตรงจากพระองค์อัลลอฮฺ เป็นการส่งสัญญาณบอกให ้รู ้ว่า เรื8องของการละหมาดเป็นเรื8องสําคัญสูงสุดในชีวิตของผู ้ศรัทธา ผู ้ศรัทธาจะต ้องละหมาด

ผู ้ศรัทธาจะต ้องไม่ขาดละหมาดผู ้ศรัทธาจะต ้องละหมาดตรงตา

มเวลา ไม่ใช่ละหมาดตามเวลา

ตรงตามเวลาไม่ใช่ปล่อยเวลาหมดก่อนแล ้วก็ละหมาดตามทีหลั

ง นั8นคือตามละหมาดตามเวลา

มันมีค่ามีราคาที8เกินจะบรรยายได ้ ฮะดีษในเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺร็อจญ์ที8มักกล่าวในแหลมมลายู

ในสวนมากมีทั*งฮะดีษเศาะฮีหฺและฮะดีษเฎาะอีฟและในส่วนน ้อ

ยก็มีฮะดีษเมาฎูอ์ (ถูกอุปโลกน์ขึ*น)

ตามหลักการของการรายงานฮะดีษ

ผู ้ที8จะรายงาน ฮะดีษจะต ้องแจ ้งสถานะของฮะดีษว่าอยูใ นระดับฮะดีษไหน เช่น ฮะดีษเศาะฮีหฺ ฮะดีษเฎาะอีฟ การนํามาใช ้เป็นหลักฐานบรรดานักวิชาการในทุกมัซฮับมีความเ ห็นพ ้องกันว่าวาญิบที8จะต ้องนํา

ฮะดีษเศาะฮีหฺลิซาติฮฺมาเป็นหลักฐานในทุกๆ

เรื8องที8เกี8ยวกับศาสนาและดุนยา อิมามอัชชาฟิอีย์กล่าวว่า การยอมรับเคาะบัรและนํามาปฏิบัติได ้นั*นก็ต่อเมื8อสามารถยืนยั

นในความถูกต ้องของมัน

แม ้นว่าจะมีนักวิชาการคนหนึ8งคนใดไม่ได ้ปฏิบัติตามหรือได ้นํา ฮะดีษมาเป็นหลักฐานก็ตาม

แต่หลังจากนั*นพบว่าการกระทําของเขาขัดแย ้งกับฮะดีษนะบี

แน่นอนเขาจะต ้องยุติการกระทํานั*นและหันมาปฏิบัติตามฮะดีษเ

(11)

581

ศาะฮีหฺ

เนื8องจากการยืนยันของการปฏิบัติในแต่ละเรื8องนั*นมาจากฮะดีษ เศาะฮีหฺ

มิใช่มาจากการปฏิบัติของใครคนหนึ8งคนใดที8มิใช่ท่านนะบีการ ปฏิบัติตามฮะดีษเฎาะอีฟการนําฮะดีษเฎาะอีฟมาใช ้เป็นหลักฐา นและปฏิบัติตามเท่า

ที8ปรากฏในหมู่บรรดานักวิชาการนั*นอาจจําแนกออกเป็น 3 กลุ่ม คือ

อนุญาตให ้นําฮะดีษเฎาะอีฟมาใช ้เป็นหลักฐานได ้ในทุกๆเรื8องที81.

เกี8ยวกับเรื8องศาสนา เช่น อะกีดะฮฺ อิบาดะฮฺ หุก่มหะกัม

เรื8องราวต่างๆ คุณค่าของ

อะม ้าลการสนับสนุนให ้ทําความดีและห ้ามปรามทําความชั8วเป็น ต ้น

2.

ไม่อนุญาตนําฮะดีษเฎาะอีฟมาใช ้เป็นหลักฐานที8เกี8ยวกับทุกๆเรื8 องของศาสนาโดยเด็ดขาด

การปฏิบัติของนักวิชาการกลุ่มนี*ตรงกันข ้ามกับนักวิชาการกลุ่ม แรกโดยสิ*นเชิง

อนุญาตให ้นําฮะดีษเฎาะอีฟมาเป็นหลักฐานและปฏิบัติตามได ้เ3.

ฉพาะฮะดีษเฎาะอีฟ ที8เกี8ยวข ้องกับคุณค่าของอะม ้าล การสนับสนุนให ้ทําความดีและห ้ามปรามทําความชั8ว

และเกี8ยวกับเรื8องที8เป็นหุก่มสุนัต

การรายงานฮะดีษเมาฎูอ์ถูก (อุปโลกน์ขึ*นมา) ไม่อนุญาตให ้ปลอมแปลงฮะดีษขึ*นมาได ้

แม ้จะมีประสงค์ดีต่อศาสนาก็ตาม ผู ้ที8รายงานฮะดีษขึ*นมา คือ ผู ้ที8โกหกในนามของท่านนะบี และด ้วยการทําสิ8งดังกล่าว เขาก็จะถูกลงโทษในไฟนรก

ข้อเสนอแนะใช้ประโยชน์

1.

นําผลการวิจัยออกเผยแพร่โดยนําไปใช ้ประกอบการเรียนการส

(12)

582

อน ในรายวิชา ตัครีจญ์

และวิชาที8เกี8ยวข ้องเพื8อได ้ศึกษาเรียนรู ้ถึงสถานภาพของฮะดีษ และสามารถแยกแยะระหว่างฮะดีษที8อนุญาตนําไปใช ้เป็นหลัก ฐานและฮะดีษที8ไม่อนุญาตนําไปใช ้เป็นหลักฐาน

นําผลการวิจัยออกเผยแพร่โดยนําไปใช ้ประกอบการเรียนการส2.

อนในในสังคมมุสลิมเช่น

ตามปอเนาะและมัสยิดต่างๆเพื8อให ้ประชาชาติมุสลิมได ้ศึกษาเรี

ยนรู ้ถึงสถานภาพของฮะดีษที8ว่าด ้วยเหตุการณ์อิสรออ์

มิอฺรออ์ทั*งนี*เพื8อให ้ผู ้ที8สนใจสามารถแยกแยะระหว่างฮะดีษที8อ นุญาตนําไปใช ้เป็นหลักฐานและฮะดีษที8ไม่อนุญาตนําไปใช ้เป็

นหลักฐาน

ข้อเสนอแนะการทําวิจ ัยคร ัVงต่อไป 1.

สําหรับการทําวิจัยครั*งต่อไปควรศึกษาตัวบทฮะดีษอย่าง ละเอียด

2.

สําหรับการทําวิจัยครั*งต่อไปควรศึกษาเกี8ยวกับบทบัญญัติต่างๆ ที8สอดคล ้องกับตัวบทฮะดีษที8มีอยู่ในวิจัยนี*

บรรณานุกรม

(References) อ ัลกุรอาน

สมาคมนักเรียนเก่าอาหรับประเทศไทย ม.ป.ป พระมหาค ัมภีร์อ ัลกุรอาน พร้อมความหมาย ภาษาไทย.

อัลมาดีนะฮ์ อัลมูเนาวะเราะฮ์ ศูนย์กษัตร์ย์ ฟาฮัด เพื8อการพิมพ์อัลกุรอาน

หน ังสือ

มุสตอฟา อัสวิบาอีย์.2015, ﻬﺎ ﻧﺘﻜﺎوﻣ ﻨﺔﺴاﻟ , ﻲﻣﻼﺳ اﻹ اﻟﺘ

ﺮﻳ

ม.ป.ท.ดารุลเตาซีอฺวัลนัชรีลอิสลา มิยะห์.

มุนีร มูหะหมัด เมาดูดี. 2555. ءﺮاﺳﻹ اجﺮا ﳌﻌوا, กรุงเทพฯ : บริษัท ออฟเซ็ต จํากัด.

(13)

583

อิสมาอีล ลุตฟี จะปะกียา. มปป.

อิสรออ์และมิอฺร็อจญ์ตามคําชีVแจงของอ ัลกุรอานและฮะดี

ษ.

อัฎเฎาะหาน มะห์มูด. 1996. لﻮﺻ أﺞﺮﻳﺨ اﻟﺘ . อัล รีย์ยาด : มักตาบะห์ อัล – มะอารีฟ.

อับดุลมะฮดีย์ อิบนุ อับดุล – อัลเกาะดีร ﺞ ﲣﺮﻳ قﺮ ﻃH لﻮﺳ رﺚﺪﻳﺣ ไคโร : ดารฺ

อัล-อิตีสาม.

อารีฟีน แสงวิมาน. 2555.

อ ัลอิสรออ์และอ ัลมิอร็อจย์ของท่านรอซูลุลอฮฺ

สถาบันอัลกุดวะฮฺ

อาบูอัลฟัตฮุ. 1997. فﺮ ﺘﻈﺴﻣ ﻓﻞ ﻛﰲ فﺮ ﺘﻄﺴ اﳌเล่มที8 1.เบรุต : อะลิมุลกิตาบ.

อาหะมะ คาเด. ม.ป.ป. เอกสารวิชาหล ักการพิสูจน์ฮะดีษ อูศูล อ ัตต ัครีจญ์. คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์

สาขาอิสลามศึกษา มหาวทยาลัยฟาฎอนี.

งานวิจ ัย

อับดุรรอฮ์มาน จะปากียา. 2560.

ต ัครีจญ์ต ัวบทฮะดีษในหน ังสือสาบีลอ ัลมุฮตดีน เล่มที; 1 ของชัยคมุฮ ัม หม ัดอ ัรชัดเป็นอ ับดุลลอฮ์อ ัลบ ันจารีย์

วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Referensi

Dokumen terkait

Hasil pengujian secara parsial menunjukan Turnover Ratio berpengaruh positif, Fund Age berpengaruhi negatif signifikan, kemudian Fund Size, Expense Ratio dan Cash Flow

Sebagai tindak lanjut dari kegiatan tersebut, bersama ini kami sampaikan pengumuman nama-nama guru peserta PLPG tahap I – tahap II yang dinyatakan (a) LULUS, (b) MENGIKUTI

Pasien terlihat dapat sedikit menggerakkan jari tangannya , kekuatan otot 2, tingkat mobilitas 3 TD : 120/70mmHg HR : 82x/i RR : 22x/i Temp : 36,5 o C A: Masalah teratasi

Method of Qualitative Research: The source of the Quran and Takhrij hadith.  Sumber

Alhamdulillahirabbil’alamin segala puji syukur penyusun panjatkan kehadirat Allah SWT yang telah melimpahkan rahmat dan hidayah-Nya, sehingga penyusun dapat

salah satu alternatif pembelajaran yang tepat, karena dengan pendekatan ini siswa dituntut untuk membangun pengetahuan dengan kemampuannya sendiri melalui aktivitas

Informasi yang berisi ringkasan APBN ini disusun berdasarkan APBN Perubahan Tahun 2017 yang telah disetujui oleh DPR RI dalam Sidang Paripurna DPR pada tanggal 28 Juli 2017

Sehingga kemudian dapat dilihat bahwa dengan adanya anggota PSUV yang mengisi jajaran penting sebagai pejabat eksekutif dan perwakilan di ranah legislatif yang dalam jumlah