• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 1 บทนํา

1) ความผิดฐานหมิ่นประมาท

4.3.1.2 กฎหมายแพงและพาณิชย

นอกจากกฎหมายอาญา ซึ่งเปนกฎหมายมหาชนในการที่จะควบคุมมิใหมีการ กระทําความผิดตอกันในทางอาญาแลว กฎหมายเอกชนเชน กฎหมายแพงและพาณิชย ก็มีหลักการ ที่จะควบคุมมิใหมีการทําละเมิดตอตอบุคคล ซึ่งการทําอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรนั้นมีโอกาสที่

จะกระทําการละเมิดคอนขางสูง และถาหากมีการกระทําหรือฝาฝนก็อาจถูกผูเสียหายฟองรองเปน คดีเพื่อเรียกคาเสียหายหรือสินไหมทดแทนได โดยหลักทั่วไปของละเมิดนั้นจะบัญญัติอยูในมาตรา 420

มาตรา 420 “ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขา เสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสิน หรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี

ทานวาผูนั้นทําละเมิด จําตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

มาตรา 420 เปนละเมิดหลักทั่วไป เปนหัวใจของการละเมิดที่แทรกเขาไปในความ รับผิดเพื่อละเมิดอื่นๆ รวมทั้งความรับผิดทางละเมิดตามกฎหมายพิเศษตางๆดวย เวนแตกฎหมาย พิเศษนั้นจะบัญญัติแตกตางขึ้นมาเฉพาะ ตามาตรา 420 แยกหลักเกณฑเปน 3 ขอ (เพ็ง เพ็งนิติ, 2548 : 52)

1) ผูใดทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย 2) กระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ 3) ทําใหเขาเสียหาย

ถาไดกระทําครบหลักเกณฑทั้ง 3 ขอ ผูนั้นตองรับผิดละเมิด ไดชื่อวาเปนผูทํา ละเมิด ถาไมเขาหลักเกณฑขอใดขอหนึ่งก็ไมเปนละเมิด สวนคําในตอนทายที่วา ทานวาผูนั้นทํา ละเมิด จําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น คํานี้ไมใชหลักเกณฑของการกระทําที่เปนละเมิด เปนเพียงผลของการทําละเมิด วาทําครบหลักเกณฑทั้งขอนี้แลวผลจะเปนอยางไร ผลก็คือใหใชคา สินไหมทดแทนนั่นเอง การใชคาสินไหมทดแทนคืออะไร ก็คือใหใชคาสินไหมทดแทนนั่นเอง การ ใชคาสินไหมทดแทนไมไดมีเพียงใหใชคาเสียหาย ใหคืนทรัพยสินหรือใหใชราคา การใหจําเลย กลาวคําขอโทษ ขอขมาหรืออะไรตางๆในหนังสือพิมพในคดีหมิ่นประมาทตามมาตรา 423 ก็

บัญญัติไวในหมวดที่วาดวยการใชคาสินไหมทดแทน ซึ่งก็ถือเปนคาสินไหมทดแทนอยางหนึ่ง เหมือนกัน ทั้งๆที่ไมใชเปนการเงิน ไมใชเปนการใชคาเสียหาย ไมใชเปนการใหคืนหรือใชราคา ทรัพยตามที่บัญญัติไวในมาตรา 438 การใหขอโทษทางหนังสือพิมพก็เปนคาสินไหมทดแทนอยาง หนึ่ง การใหซอมแซมทรัพยที่ถูกทําลายใหคืนดีตามสภาพเพราะบุกรุกก็ดี เพราะอยูโดยละเมิดก็ดี

การใหระงับการกระทําตอไป ซึ่งละเมิดก็ดี ก็เปนการฟองเรื่องละเมิดเชนเดียวกัน เพราะฉะนั้นการ ใหใชคาสินไหมทดแทนตามมาตรา 420 ไมไดมีเพียงการใชคาเสียหาย การคืนทรัพยสินหรือการใช

ราคา การอื่นๆที่เยียวยาใหผูเสียหายกลับคืนสถานะเดิมไดก็ถือวาเปนการใชคาสินไหมทดแทน เชนกัน (เพ็ง เพ็งนิติ,2548 : 53)

1) ผูใดทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย ซึ่งแยกออกไดเปน 4 ขอยอย คือ

(1) ผูใด

(2) ทํา

(3) ทําตอบุคคล

(4) โดยผิดกฎหมาย

(1) ผูใด คือคนทําละเมิด ไมวาจะเปนบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ทํา ละเมิดได บุคคลธรรมดาไมวาเปนเด็ก ผูใหญ คนพิการ คนวิกลจริต ทําละเมิดไดหมด กรณีสัตว

หรือทรัพยสิ่งของทําความเสียหายแกบุคคลอื่น สัตวหรือทรัพยสิ่งของไมสามารถทําละเมิด ถาเปน

สัตวหรือทรัพยสิ่งของที่มีเจาของหรือหรือมีผูครอบครองก็ไมอาจจะมีความผิดฐานละเมิด กรณี

สัตวหรือทรัพยสิ่งของก็ถือวาเจาของหรือผูดูแล ผูครอบครองเปนผูละเมิด ไมใชสัตวหรือทรัพย

สิ่งของเปนผูทําละเมิด กรณีสุนัขขางบานมากัดคนเดินถนน สุนัขไมไดทําละเมิด เจาของหรือผูดูแล รักษาเปนผูทําละเมิด ซึ่งผูเสียหายอาจจะฟองเจาของสุนัขหรือผูดูแลรักษาฐานละเมิดโดยตรงตาม มาตรา 420 ไดหากขอเท็จจริงฟงไดวาเจาของหรือผูดูแลรักษาไดกระทําความโดยจงใจหรือ ประมาทเลินเลอหรืออาจจะฟองเจาของหรือผูรับเลี้ยงรับรักษาตามมาตรา 433 ก็ไดแลวแต

ขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น

(2) ทํา ทําหรือกระทํา หมายถึงการแสดงอิริยาบถของผูกระทําเปนการ เคลื่อนไหวรางกายโดยรูสํานึกโดยจิตบังคับ ไมใชการเคลื่อนไหวรางกายโดยไมรูสํานึกหรือไมถูก สภาพจิตบังคับ อยางนั้นไมเรียกวาการทําหรือการกระทํา เชน เด็กไรเดียงสายืดแขงยืดขาไปโดน สิ่งของเสียหายในขณะที่พี่เลี้ยงอุมอยู พี่เลี้ยงไมตองรับผิดตามมาตรา 429 เพราะเด็กทารกไมไดทํา ละเมิด แตพี่เลี้ยงอาจเปนผูทําละเมิดโดยตรง การกระทําบางครั้งอาจจะผานบุคคลที่ไมรูขอเท็จจริง หรือพฤติการณแหงการกระทํา บุคคลที่ไดทําหรือกระทําโดยไมรูขอเท็จจริงหรือไมรูพฤติการณ

แหงการกระทําไมถือวาเปนผูกระทํา แตผูที่กอใหเขาทําหรือกระทําถือวาเปนผูกระทําโดยใชบุคคล ที่ไมรูนั้นเปนเครื่องมือ เชน หลอกใหคนไปหยิบของโดยคนที่หยิบของไมรูวาของชิ้นนั้นเปนของ บุคคลอื่นไมใชของที่ใชใหไปหยิบ คนที่ไปหยิบโดยไมรูขอเท็จจริงเปนเครื่องมือในการกระทํา หรือใชใหผูอื่นทําละเมิดตามที่บัญญัติไวในมาตรา 432

การทําหรือกระทําจะตองเคลื่อนไหวโดยจิตบังคับ เพราะฉะนั้นการ เคลื่อนไหวของคนที่ละเมอ คนเพอไขจึงไมใชการกระทําโดยบังคับ ไมถือวามีการกระทํา หากคน ละเมอไปโดนขาวของเขาแตกเสียหาย ไมตองวินิจฉัยวาไมเปนละเมิดเพราะไมไดจงใจหรือไม

ประมาทเลินเลอ ตองวินิจฉัยวาไมมีการกระทํา คนเมาสุราก็ตองเดินแบบไมปกติ ขับรถก็ตองสาย ไปมา หากเทียบคนที่เมาดวยกันก็ตองถือวาเขาไมไดประมาทเลินเลอ แตถารูวาเมาก็อยาไปขับรถ หรือวาจะขับรถก็อยาไปดื่มสุรา การดื่มสุราโดยรูวาตองขับรถ เปนการกระทําที่ตอเนื่องกัน หากไป ชนบุคคลอื่น ถือวามีการกระทําตั้งแตตอนดื่มสุราแลว (เพ็ง เพ็งนิติ, 2548:54)

(3) ทําตอบุคคล หมายถึงผูถูกทําละเมิด การทําละเมิดจะตองเปนการทํา ตอบุคคลอื่น ถาทําตอตนเองก็ไมถือวาเปนการทําตอบุคคลอื่น ไมเขาหลักเกณฑขอนี้ บุคคลอื่นใน ที่นี้หมายถึงบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล บุคคลธรรมดาเริ่มตั้งแตทารกผูเยาว คนพิการ คนชรา คน วิกลจริต นักโทษประหาร การทําความเสียหายตอสัตวหรือสิ่งของ สัตวหรือสิ่งของไมเปนบุคคล ไมถือวาเปนผูถูกทําละเมิด ถาเปนสัตวหรือสิ่งของที่ไมมีเจาของก็ไมตองรับผิดฐานละเมิด แตถา เปนสัตวหรือสิ่งของของบุคคลอื่นก็ถือเปนการทําละเมิดตอบุคคลอื่นนั้น

สภาพบุคคลยอมเริ่มแตเมื่อคลอดแลวอยูรอดเปนทารก เพราะฉะนั้นใน กรณีกระทําตอเด็กที่ยังอยูในครรภมารดา ไมถือเปนการกระทําละเมิดตอเด็กที่อยูในครรภ แตเปน การละเมิดตอมารดา และสภาพบุคคลยอมสิ้นสุดลงเมื่อตาย เพราะฉะนั้นการกระทําตอศพจึงไมถือ วาเปนการทําตอบุคคลอื่น แตอาจตองรับผิดตอทายาท ถือวาทายาทเปนผูถูกทําละเมิดโดยตรง (เพ็ง เพ็งนิติ,2548 :156-157)

(4) โดยผิดกฎหมาย การทําละเมิดจะตองเปนการกระทําตอผูอื่นโดยผิด กฎหมาย หากผูกระทํามีสิทธิหรือมีอํานาจกระทําไดตามกฎหมายแลวการกระทํานั้นก็ไมผิด กฎหมายยอมไมเปนละเมิด คําวาผิดกฎหมายอาจจะผิดตามกฎหมายอาญาที่มีบัญญัติไวโดยชัดแจง ที่เปนการกระทบสิทธิของบุคคลนั้น ซึ่งเปนสิทธิโดยเด็ดขาดของบุคคลนั้น อาจเปนสิทธิที่เกี่ยวกับ ชีวิต รางกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพยสินหรือสิทธิอยางใดอยางหนึ่ง คือความผิดตามที่บัญญัติไวใน ประมวลกฎหมายอาญา แตไมตองผิดตอกฎหมายที่บัญญัติไวโดยชัดแจงก็ได อาจจะผิดตอกฎหมาย แพงก็ได ถาเปนการกระทําที่กระทบสิทธิของบุคคลอื่น อันเปนการลวงสิทธิผิดหนาที่ตอบุคคลอื่น ก็ถือวาผิดตอกฎหมายแพง การฝาฝนไมปฏิบัติตามหนาที่ถือวาผิดกฎหมายในตัว สําหรับนิรโทษ กรรม ตองถือวาเปนการกระทําที่เปนละเมิด เพียงแตผูกระทําไมตองใชคาสินไหมทดแทน หรือใช

นอยกวาความเสียหายที่เกิดขึ้นเทานั้นเอง หากการกระทํานั้นไมผิดกฎหมายก็ไมเปนละเมิด เมื่อ ไมใชละเมิดก็ไมตองพิจารณาเรื่องนิรโทษกรรม (เพ็ง เพ็งนิติ, 2548 : 202)

2) กระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ ความผิดฐานละเมิดหรือการกระทําที่เปน ละเมิด โดยหลักแลวจะตองเปนการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอเวนแตจะมีกฎหมายพิเศษ บัญญัติไวเพื่อคุมครองผูเสียหาย ก็จะบัญญัติเปนพิเศษขึ้นมาวาแมไมกระทําโดยจงใจหรือประมาท เลินเลอคนนั้นก็ตองรับผิด เชน พ.ร.บ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535 มาตรา96

“...ตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน ...ไมวาการรั่วไหลหรือแพรกระจายจะเกิดจากจงใจหรือหรือ ประมาทเลินเลอหรือไมเวนแต... ” หรือความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากการกระทําของบุคคล อื่น เชน ลูกจาง ตัวแทน หรือความรับผิดในความเสียหายอันเกิดจากทรัพย ซึ่งไมตองมีการกระทําที่

เปนจงใจหรือประมาทเลินเลอ เรียกวาเปนความรับผิดเด็ดขาด ถาไมมีเขียนไวเปนพิเศษแลวก็

จะตองรับผิดตอเมื่อไดกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ เวลาโจทกบรรยายฟองไมตองบรรยาย วาจําเลยจงใจหรือประมาทเลินเลอก็ได ใชคําวาเจตนาก็ได รูอยูแลววาจะชนก็ได จําเลยขับรถไม

ระวัง เดินไมระวังไปชนของเขาแตก ไมตองใชคําวาประมาทเลินเลอก็ได จําเลยขับรถหวาดเสียว ขับรถเร็วไมหลบหลีกใหดี ไมตองใชคําตรง ขอใหอานแลวเขาใจวาหมายถึงจงใจหรือประมาท เลินเลอเปนใชได