• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 1 บทนํา

2) กฎหมายอาญาจะยอนหลังใหผลรายมิได

4.1.4 แนวคิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร

เทคโนโลยีสารสนเทศไดมีความเจริญกาวหนาโดยเฉพาะทางดานคอมพิวเตอร โดยไดนํา ประโยชนอยางมหาศาลมาสูสังคมมนุษย แตขณะเดียวกันก็มีบุคคลที่ใชคอมพิวเตอรไปในทางที่ไม

ถูกตอง โดยทําการลวงละเมิดเขาไปในระบบคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยไมไดรับอนุญาต ซึ่งการ กระทําผิดทางคอมพิวเตอรขยายวงกวางออกไปอยางรวดเร็ว เนื่องจากกระทําไดโดยงาย ไมตองบุก รุกทางกายภาพ สะดวกและรวดเร็ว เปนผลที่กอใหเกิดความเสียหายเปนอยางมากและเปนวงกวาง อยางมากมาย

สําหรับการอธิบายถึงสาเหตุของการกระทําผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอรนั้นยังไมมี

ทฤษฎีทางอาชญากรรมประเภทหนึ่งในอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ผูเชี่ยวชาญในการปองกัน อาชญากรรมไดใชแนวคิดที่เรียกวา สามเหลี่ยมอาชญากรรม “Crime Triangle” มาอธิบายเกณฑที่

เปนองคประกอบกอนเกิดการกระทําผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร ซึ่งเราสามารถนําเกณฑ

ที่วานี้มาใชเปนแนวคิดในการปองกันอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร เกณฑ 3 ประการดังกลาว ประกอบดวย

1) แรงจูงใจ (Motive) ผูบุกรุกจะตองมีเหตุผลในการที่จะเจาะเขาสูระบบเครือขายถึงแมวา เหตุผลนั้นจะเปนแคเพื่อความสนุกก็ตาม

2) ความสามารถ/เครื่องมือ (Means) ผูบุกรุกจะตองมีความสามารถ คืออาจเปนความรู

ทางดานโปรแกรมมิ่ง หรือการใชซอฟทแวรที่สรางขึ้นมาสําหรับการบุกรุกโดยผูอื่น ซึ่งสามารถหา ไดไมยากในอินเทอรเน็ต มิเชนนั้นคงไมสามารถมาละเมิดระบบความปลอดภัยของทานได

3) โอกาส (Opportunity) ผูบุกรุกจะตองมีโอกาสที่จะเขาสูเครือขายไดอาจเปน ขอบกพรอง จากแผนความปลอกภัย รูรั่วของซอฟทแวรหรือโปรแกรมที่ใช ซึ่งเปดโอกาสใหเขาถึงได หรืออาจ เปนการมาใชอุปกรณของทานเองเลยก็เปนได ดังนั้นถาไมมีโอกาสหรือชองทางที่อาจกระทําไดผู

บุกรุกก็คงไปที่อื่นแทน

จากขอมูลของผูเชี่ยวชาญขางตน สามารถนําทฤษฎีทางอาชญาวิทยามาอธิบายหลาย ลักษณะ โดยจะยกตัวอยางบางทฤษฎี อาทิ

1) ทฤษฎีการเลือก (Choice Theory)

ทฤษฎีการเลือกมองวา การละเมิดกฎหมายของคน เกิดจากเหตุผลสวนตัวหลายเหตุผล รวมถึงความอยาก การแกแคน ความตองการ เปนตน แตเมื่อเหตุผลสวนตัวไดมีการชั่งน้ําหนัก ระหวางการที่ไดมาซึ่งผลประโยชนและผลที่ตามมาจากการประกอบอาชญากรรมคือบทลงโทษ โครงสรางของอาชญากรรม ตามแนวคิดทฤษฎีการเลือกในการตัดสินใจจะประกอบอาชญากรรม นั้น มีองคประกอบดังนี้

1.1) การเลือกสถานที่กออาชญากรรม

1.2) การเลือกเปาหมาย

1.3) เรียนรูเทคนิคของการเปนอาชญากร

จากแนวคิดดังกลาว สามารถอธิบายพฤติกรรมของอาชญากรคอมพิวเตอรซึ่งสวนใหญจะ เริ่มจากมูลเหตุจูงใจของตัวอาชญากรเองซึ่งจะมีทั้งขอมูลจูงใจสวนตัว เชน อยากสนุกทดลองวิชา แกแคน เปนตน หรือในเรื่องของผลประโยชนที่จะไดมาจากการกระทําผิดโดยอาชญากรจะตองมี

ขอมูลของกลุมเปาหมาย หรือตรวจสอบหาขอบกพรองของระบบที่ตองการจะเจาะเขาไป รวมทั้ง

อุปกรณเครื่องไมเครื่องมือโปรแกรมตางๆ และการเรียนรูเทคนิคตางๆของการกระทําผิด เพื่อหา โอกาสดําเนินการในการบุกรุกเขาไปในระบบคอมพิวเตอร เปนตน (นัยนรัตน งามแสง, 2547 : 35) 2) ทฤษฎีการโยนความผิด

เดวิด แมตซา (David Matza) และเกรชัม ซีเกส (Gresham Sykes) เชื่อวาคนที่กระทําผิดมี

เทคนิคในการอธิบายการกระทําของเขา โดยโยนความรับผิดชอบตอการกระทําใหกับคนอื่น ทําให

การกระทําของเขานั้นถูกตองมีเหตุผล การคิดเชนนั้นปรากฏอยูในวิธีการกระทําผิดของคนในสังคม อยางมาก

จากแนวคิดดังกลาว สามารถอธิบายการกระทําผิดของอาชญากรคอมพิวเตอรไดหลาย ลักษณะ อาชญากรสวนใหญมักคิดวาการบุกรุกระบบรักษาความปลอดภัยเปนเรื่องของการทดลอง วิชา การที่สามารถบุกรุกระบบเขาไปไดเปนเรื่องที่เกงและทาทายความสามารถ ซึ่งแสดงใหเห็นถึง ความผิดพลาดของเจาของระบบที่ไมสามารถปองกันดูแลระบบของตัวเอง หรือเจาของระบบเองที่

เปนผูเปดโอกาสใหสามารถบุกรุกระบบได อาชญากรมักคิดวาเปนความผิดของเจาของระบบ นอกจากนี้แฮกเกอรบางกลุม ยังมีแนวคิดวาอินเทอรเน็ตเปนโลกแหงเสรีภาพทางความคิดและ ขอมูล ไมควรมีการเสียคาใชจายเพื่อใชบริการและคนควาขอมูล ฉะนั้นแฮกเกอรกลุมดังกลาวจะคิด วาการกระทําของเขาเปนเรื่องที่ถูกตองและสมควร การเสียคาใชจายเพื่อคนควาขอมูลและใชบริการ จึงเปนเรื่องที่ไมถูกตอง เปนตน (นัยนรัตน งามแสง, 2547 : 35)

4.1.4.1 แนวคิดเกี่ยวกับการกําหนดความผิดทางอาญาที่เหมาะสม

ในการกําหนดความผิดทางอาญาที่เหมาะสมตามสภาพแลวนั้น สังคมสวนใหญได

รับรูถึงอาชญากรรมในแงของความรายแรงของอาชญากรรม และลักษณะความนาตําหนิของการ กระทําความผิด และปจจัยดานศีลธรรมซึ่งปจจัยในดานนี้มีความเกี่ยวของกับความรูสึกตอบสนอง ของประชาชนในสังคมอยางมาก แตก็ยังมีความคลุมเครืออยูมากในการใชเปนเกณฑในการกําหนด ความผิดทางอาญา ในสังคมยุคปจจุบันซึ่งมีความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สารสนเทศ จึงเปนการไมเหมาะสมมากนักที่จะนํามาใชเปนเกณฑกําหนดความผิดไดมากนัก แต

อยางไรก็ตาม ทางปจจัยทางดานศีลธรรมก็ยังคงเปนปจจัยที่มีอิทธิพลคอนขางสูงในการนําไปสู

ปฏิกริยาโตตอบจากผูคนในสังคมอีกดวย

การใชกฎหมายอาญาในสังคมนั้นมีขอจํากัด กลาวคือ กฎหมายอาญาเปนเครื่องมือ ของสังคมประการหนึ่ง จึงยอมตองมีขีดจํากัดในการนํามาใชบังคับในแตละเรื่องทั้งในดาน

งบประมาณ กําลังคน เวลา และความยากงายในการบังคับใชกฎหมาย โดยในเรื่องนี้ไดมีนักวิชาการ ของไทยทานหนึ่งไดเขียนบทความที่เปนประโยชนอยางมากเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว ซึ่งสามารถสรุปไดด

ไดวารัฐไมสมควรบัญญัติความผิดในกฎหมายอาญาโดยมีวัตถุประสงคเพียงเพื่อกอใหเกิด หลักประกันวาการฝาฝนกฎหมายจะไดรับการลงโทษแกแคนตอบแทนดวยการลงโทษแตเพียง อยางเดียวซึ่งหลักในขอนี้มีที่มาจากแนวคิดของซีซาร เบคคาเรีย (Cesare Beccaria) ในเรื่อง อรรถประโยชนแหงการลงโทษ เบคคาเรีย กลาววา “การปองกันอาชญากรรมดีกวาการปราบปราม อาชญากรรม ซึ่งเปนเปาหมายสูงสุดแหงกฎหมายนิติบัญญัติที่ดี” สมมติฐานนี้ไดรับการยอมรับจาก ผูสนับสนุนลัทธิอรรถประโยชนในยุคหลัง เชน เจอเรมี เบนแธม (Jeremy Bentham) จอหน สจวรด มิลล (John Stuart Mill) และบารอนเนส วูตัน (Baroness Wooton) เปนตน อีกทั้งรัฐไมควรใช

กฎหมายอาญาลงโทษความประพฤติที่ไมกอใหเกิดอันตราย ทั้งนี้โดยเหตุผลที่วาถาการกระทํานั้น ไมมีความชั่วรายก็ไมมีเหตุผลแตอยางใดที่จะบัญญัติกฎหมายลงโทษการกระทํานั้น เชน ไมควร บัญญัติกฎหมายลงโทษผูมีมารยาทเลว หรือสิ่งที่บุคคลเห็นวาเปนความเลว อยางไรก็ตามผูเขียน พบวาอาจมีขอโตแยงกันไดตลอดเวลาวาความประพฤติอยางใดกันแนที่เปนความประพฤติเลวอยาง แทจริงและรัฐไมควรใชกฎหมายเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่งซึ่งสามารถบรรลุได

อยางมีประสิทธิภาพ โดยกอใหเกิดความทุกขทรมานนอยกวา หรือหมายถึงรัฐไมควรใชกฎหมาย อาญาในกรณีที่มาตรการอื่นๆ ซึ่งกอใหเกิดความทุกขทรมานนอยกวา มีประสิทธิภาพเทาหรือเกือบ เทาในการลดจํานวนการกระทํานั้น และรัฐไมควรใชกฎหมายในกรณีผลรายซึ่งเกิดจากการลงโทษ มีมากกวาผลรายที่เกิดจากความผิด หลักในขอนี้มาจากแนวความคิดของเบนแธมวา การลงโทษจะ กอใหเกิดประโยชนหรือไมตองพิจารณาเปรียบเทียบระหวางความพอใจกับความเจ็บปวดที่

ผูกระทําผิดไดรับ การชั่งน้ําหนักระหวางการลงโทษปรับและจําคุกในความผิดบางประการกระทํา ไมไดงายนัก เพราะมีความแตกตางทางดานบุคลิกภาพของบุคคล นอกจากนั้นยังมีขอโตแยงทาง ความคิดระหวางการลงโทษประหารชีวิตกับจําคุกตลอดชีวิต วาการลงโทษดวยวิธีใดจะกอ

ประโยชนแกสังคมกวากัน โดยที่สมมติฐานของเบนแธมในขอนี้มีจุดออนตรงที่ไมสามารถวัดไดวา การกําหนดโทษอยางไรจึงจะพอดี ดังนั้นวอรคเกอร ไดเสนอแนะใหปรับปรุงขอความเสียใหม ดังนี้

“กฎหมายอาญาไมควรบัญญัติหามการกระทําซึ่งจะกอใหเกิดผลพลอยได (By Product) อันจะเปน ผลรายมากกวาการกระทําที่รัฐไมสงเสริม” (สกล นิศารัตน, 2545 : 32)

ในเรื่องนี้ไดใหขอสังเกตอันเกิดจากการบัญญัติกฎหมายหามการกระทําความผิด ซึ่งเรียกวา อาชญากรรมที่ไมมีผูเสียหาย เชนกฎหมายหามการทําแทง วาไดกอใหเกิดการรับจางรีดลูกโดยมิ

ชอบดวยกฎหมาย และมีกรณีมากมายที่กระทําโดยผูมิใชแพทยอันเปนอันตรายตอชีวิต และสุขภาพ ของหญิง กฎหมายปองกันและปราบปรามการคาประเวณี กอใหเกิดการประพฤติทุจริต การ แสวงหาประโยชนโดยมิชอบจากจากผูรักษากฎหมายกับหญิงและจากสถานการคาประเวณีและ โรงแรมที่ไดรับอนุญาตใหจัดตั้งโดยชอบดวยกฎหมายเพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการคาประเวณี