• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 1 บทนํา

3) หลักของการลงโทษตามทฤษฎีลงโทษเพื่อดัดแปลง

4.2.2 อํานาจของพนักงานเจาหนาที่

4.2.2.1 อํานาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติฯนั้น มีอํานาจตามประมวลกฎหมายวิธี

พิจารณาความอาญาดวย เนื่องจากพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

พ.ศ.2550 มาตรา 29 บัญญัติวาในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ใหอํานาจพนักงาน เจาหนาที่เปนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา มีอํานาจรับคํารองทุกขหรือรับคํากลาวโทษ และมีอํานาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้

เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติดังกลาว พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติฯ จึงมี

อํานาจในลักษณะเดียวกับพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญ จึงมีอํานาจในการรับคํารอง ทุกข ในกรณีที่ผูเสียหายกลาวหาตอเจาหนาที่ตามวามีผูกระทําความผิดขึ้นจะรูตัวผูกระทําความผิด หรือไมก็ตามซึ่งกระทําใหเกิดความเสียหายแกผูเสียหาย และการกลาวหาเชนนั้นไดกลาวโดยมี

เจตนาจะใหผูกระทําความผิดไดรับโทษ หรือมีอํานาจในการรับคํากลาวโทษ กรณีที่บุคคลอื่นซึ่ง ไมใชผูเสียหาย ไดกลาวหาตอเจาหนาที่วามีบุคคลรูตัวหรือไมก็ดี ไดกระทําความผิดอยางหนึ่งขึ้น ตอพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติฯ แตมีขอสังเกตคือ เฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัติวา ดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 เทานั้น ที่พนักงานเจาหนาที่ตาม

พระราชบัญญัติฯจะมีอํานาจดังเชนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญ ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

4.2.2.2 อํานาจตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ.2550

บทบัญญัติในพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

พ.ศ.2550 ไดในอํานาจพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติฯ ตางจากอํานาจของเจาพนักงานตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ดังนั้น พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติฯจึงมีอํานาจ พิเศษแตกตางจากเจาพนักงานทั่วไป และพนักงานเจาหนาที่จะใชไดตอเมื่อเปนกรณีที่มีเหตุอันควร เชื่อไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ถาเปนความผิดตามกฎหมายอื่นยอมไมเขา เงื่อนไขที่พนักงานเจาหนาที่จะใชอํานาจได อยางไรก็ตามถาเปนความผิดหลายกรรมหรือเปน ความผิดตอกฎหมายหลายบทยอมไดประโยชนจากมาตรานี้ดวย นอกจากนั้นการใชอํานาจของ พนักงานเจาหนาที่ยังตองใชเฉพาะที่จําเปนเพื่อประโยชนในการใชเปนหลักฐานเกี่ยวกับการกระทํา ความผิดและหาตัวผูกระทําความผิด (พรเพชร วิชิตดลชัย, 2550 : 33)

ตามหลักมาตรา 18 พนักงานเจาหนาที่ มีอํานาจทั้งหมด 8 ประการ โดยสามารถ แบงหัวขอในการศึกษาไดดังตอไปนี้

() การใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ซึ่งไมตองขออนุญาตศาล

บทบัญญัติมาตรา 18 ใหอํานาจพนักงานเจาหนาที่ในการดําเนินการอยางหนึ่งอยาง ใดรวม 3 ประการตาม (1) (2) หรือ (3) โดยไมจําตองขออนุญาตศาล

(1) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้มาเพื่อใหถอยคําสงคําชี้แจงเปนหนังสือ หรือสงเอกสาร ขอมูล หรือหลักฐานอื่น ใดที่อยูในรูปแบบที่สามารถเขาใจได

อํานาจตาม (1) เปนเรื่องทั่วไปในการรวบรวมพยานหลักฐานซึ่งอาจทําโดยวิธีการ เรียกบุคคลมาใหถอยคํา หรือใหบุคคลชี้แจงเปนหนังสือ หรือใหสงเอกสารหรือวัตถุอื่นใด ซึ่ง อํานาจตาม (1) นี้เปนอํานาจที่เจาพนักงานฝายปกครองและตํารวจชั้นผูใหญมีอยูแลวตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 52 กลาวคือ การที่จะใหบุคคลใด มาที่พนักงานสอบสวน หรือมาที่พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญ หรือมาศาลเนื่องในการสอบสวน การไตสวน มูลฟอง การพิจารณาคดี หรือการอยางอื่นตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้จักตองมี

หมายเรียกของพนักงานสอบสวน หรือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญหรือของศาล แลวแตกรณี

แตในกรณีที่ พนักงานสอบสวน หรือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญ

ไปทําการสอบสวนดวยตนเอง ยอมมีอํานาจที่จะเรียกผูตองหา หรือพยานมาได โดยไมตองออก หมายเรียก 

กรณีที่ตองออกหมายเรียกนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 53 ไดวางหลักไววาหมายเรียกตองทําเปนหนังสือ และมีขอความดั่งตอไปนี้

(1) สถานที่ที่ออกหมาย

(2) วันเดือนปที่ออกหมาย

(3) ชื่อ และตําบลที่อยู ของบุคคลที่ออกหมายเรียกใหมา (4) เหตุที่ตองเรียกผูนั้นมา

(5) สถานที่ วันเดือนป และเวลาที่จะใหผูนั้นไปถึง

(6) ลายมือชื่อและประทับตราของศาลหรือลายมือชื่อและตําแหนงเจาพนักงานผู

ออกหมาย

สวน “ขอมูล” นั้นหมายถึงขอมูลทั่วไป เชนเปนขอมูลที่เก็บไวในไฟลดิสเกตต

หรือเปน printout แตไมรวมถึงขอมูลคอมพิวเตอร

การไมปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ตาม (1) เปนความผิดตามมาตรา 27

(2) เรียกขอมูลจราจรจราจรทางคอมพิวเตอรจากผูใหบริการเกี่ยวกับการ ติดตอสื่อสารผานระบบคอมพิวเตอรหรือจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวของ

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 มาตรา 26 ไดวางหลักเกณฑเรื่องผูใหบริการเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารผานระบบคอมพิวเตอร มีหนาที่ตอง เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวไมต่ํากวา 90 วัน แตไมเกินหนึ่งป ซึ่งรายละเอียดหลักเกณฑการ เก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผูใหบริการนั้น ไดมีประกาศกระทรวงเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสารออกหลักเกณฑในเรื่องดังกลาวแลว เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2550 (ราชกิจจานุเบกษา, 2550 : 5)

นอกจากพนักงานเจาหนาที่จะมีอํานาจเรียกขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรจากผู

ใหบริการแลว ก็ยังมีอํานาจเรียกจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวของไดอีกดวย

การไมปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ตาม (2) เปนความผิดตามมาตรา 27

(3) สั่งใหผูใหบริการสงมอบขอมูลเกี่ยวกับผูใชบริการที่ตองเก็บรักษาตามมาตรา 26 หรือที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมของผูใหบริการแกพนักงานเจาหนาที่

นอกจาก “ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” แลว ผูใหบริการยังมีหนาที่ตองเก็บ ขอมูลเกี่ยวกับผูใชบริการที่ตองเก็บตามมาตรา 26 อีกดวย

ขอมูลที่เกี่ยวกับผูใชบริการ เชนขอมูลรหัสประจําตัวผูใชบริการ (user ID) ขอมูล เกี่ยวกับบุคคลที่ใชบริการซึ่งไดมีการลงทะเบียน (register) ไว เปนตน

นอกจากขอมูลของผูใชบริการที่ผูใหบริการมีหนาที่ตองเก็บตามมาตรา 26 แลว หากผูใหบริการมี

ขอมูลของผูใชบริการที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมของผูใหบริการ พนักงานเจาหนาที่ก็มี

อํานาจที่จะสั่งใหผูใหบริการสงมอบไดเชนกัน

อํานาจของพนักงานเจาหนาที่ซึ่งมิตองขออนุญาตศาลนั้น กลาวโดยสรุปคือ พนักงานเจาหนาที่ มีอํานาจที่จะออกหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวของกับการกระทํา ความผิดตามพระราชบัญญัติฯมาใหถอยคํา สงคําชี้แจงเปนหนังสือ หรือสงเอกสาร ขอมูล หรือ หลักฐานอื่นใดที่อยูในรูปแบบที่สามารถเขาใจได และสั่งใหผูใหบริการสงมอบขอมูลเกี่ยวกับ ผูใชบริการที่ตองเก็บตามมาตรา 26 หรือที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมของผูใหบริการใหแก

พนักงานเจาหนาที่ เพื่อใชขอมูลดังกลาวเปนหลักฐานในการสืบสวนสอบสวนและประกอบการ พิจารณาคดี

() การใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ซึ่งตองขออนุญาตศาล

เมื่อพิจารณาจากหลัก มาตรา 18 วรรคแรก ภายใตบังคับมาตรา 19 เพื่อประโยชน

ในการสืบสวนและสอบสวน ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อไดวามีการกระทําความผิดตาม

พระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ เฉพาะที่จําเปนเพื่อ ประโยชนในการใชเปนพยานหลักฐานเกี่ยวกับการกระทําความผิดและหาตัวผูกระทําความผิด คํา วา “ภายใตบังคับมาตรา 19” หมายความวา การใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายนี้ตอง ปฏิบัติตามมาตรา 19 ดวย และเมื่อพิจารณาตามมาตรา 19 แลวเปนบทบัญญัติที่กําหนดใหการใช

อํานาจของพนักงานเจาหนาที่รวม 5 อนุมาตรา คือ (4) (5) (6) (7) และ (8) พนักงานเจาหนาที่จะตอง ยื่นคํารองตอศาลและศาลตองมีคําสั่งอนุญาตตามคํารองกอน พนักงานเจาหนาที่จึงจะสามารถ ดําเนินการได เนื่องจากการใชอํานาจเพื่อใหไดพยานหลักฐานในการสืบสวนสอบสวนตามมาตรา

18(4)-(8) นั้น เปนการลวงละเมิดขอมูลสวนบุคคล หรือเปนการรุกล้ําสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ในการติดตอสื่อสาร การแสดงความคิดเห็น จึงตองมีองคกรศาลกลั่นกรองการใชอํานาจดังกลาว ของพนักงานเจาหนาที่

การใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา 18 ที่ตองขออนุญาตศาลตาม วิธีการที่บัญญัติไวในมาตรา 19

(1) ทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร จากระบบ คอมพิวเตอรที่มีเหตุอันควรเชื่อวาไดมีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ระบบ คอมพิวเตอรนั้นยังมิไดอยูในความครอบครองของพนักงานเจาหนาที่

การทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอรหรือขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรเมื่อไปกระทํา จากระบบคอมพิวเตอร ถือวาเปนการลวงล้ําเขาไปในขอมูลคอมพิวเตอร อันเปนการละเมิดสิทธิ

เสรีภาพสวนบุคคล ซึ่งหากบุคคลทั่วไปทํายอมเปนความผิดตามมาตรา 5 หรือมาตรา 7 ดังนั้น พนักงานเจาหนาที่จะกระทําไดก็ตอเมื่อไดรับอนุญาตจากศาลกอน

สวนขอความที่วา “ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอรนั้นยังมิไดอยูในความครอบครอง ของพนักงานเจาหนาที่” หมายถึง ในกรณีที่หากพนักงานเจาหนาที่ไดยึดหรืออายัดระบบ

คอมพิวเตอรนั้นมาแลว ซึ่งในการยึดหรืออายัดนั้นระบบคอมพิวเตอร ก็ตองขออนุญาตศาลกอน เชนกัน ตาม (8) ดังนั้น เมื่อไดยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอรมาแลวก็ยอมใชอํานาจทําสําเนา ขอมูลคอมพิวเตอรไดเลยโดยไมจําเปนตองขออนุญาตตอศาลอีก

การใชอํานาจตาม มาตรา 18 (4) นี้ หมายถึงการที่พนักงานเจาหนาที่จะเขาไป ตรวจสอบขอมูลในระบบคอมพิวเตอร หรือในขอมูลคอมพิวเตอรใดๆ ก็ได ซึ่งไดแกการเจาะระบบ เพื่อใหทราบถึงระบบคอมพิวเตอรที่ใช เขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรหรือขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร

ซึ่งปกติแลวตองใชวิธีการทางคอมพิวเตอร การเขาถึงระบบคอมพิวเตอร ขอมูลคอมพิวเตอร และ ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรยอมทําใหพนักงานเจาหนาที่ไดพยานหลักฐานเกี่ยวกับการกระทํา ความผิดที่กระทําผานระบบคอมพิวเตอรหรือขอมูลคอมพิวเตอร นอกจากนั้นการเขาถึงขอมูล จราจรทางคอมพิวเตอรยอมเปนประโยชนในการสืบสวนหาตัวผูกระทําผิดวาผูใดเปนผูกระทํา ความผิดและเมื่อวัน เวลาใด จากสถานที่ใด เปนตน และเมื่อหาตัวผูกระทําผิดไดแลว ยังมีอํานาจสั่ง ใหบุคคลนั้นสงขอมูลคอมพิวเตอร หรือขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรที่เกี่ยวของเทาที่จําเปนใหดวย ก็ได

การทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอรตามมาตรา 18(4) นอกจากจะตองยื่นคํารองตอศาล และเมื่อไดรับอนุญาตจากศาลแลว ตามวรรคสี่ยังระบุวาใหกระทําไดเฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อได