• Tidak ada hasil yang ditemukan

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

5.2 ขอเสนอแนะ

5.2.1 มาตรการในเรื่องขอบอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ที่ไมตองขออนุญาตศาล เพื่อใหการทํางานของพนักงานเจาหนาที่ในการรวบรวมพยานหลักฐานเปนไปได

อยางตอเนื่อง และรวดเร็ว ควรปรับแกกฎหมายในบางสวนสําหรับในเรื่องของการใชอํานาจ เชน ในกรณีของการทําสําเนาขอมูลของคอมพิวเตอร อาจกระทําไดสําหรับกรณีที่จําเปน เรงดวน หรือ เกรงวาผูตองหาหรือพยานบุคคลอาจไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร ให

พนักงานเจาหนาที่ทําสําเนาไดโดยไมตองขออนุญาตจากศาล ซึ่งกรณีที่จะทําไดโดยที่ไมตองขอ อนุญาตศาลนั้น ตองเปนขอยกเวน โดยยังคงหลักการเดิมไว กลาวคือ การทําสําเนา ขอมูลคอมพิวเตอร หรือขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรนั้น พนักงานเจาหนาที่ตองขอศาลกอนตาม หลักมาตรา 19 ซึ่งกรณีการทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอร หรือขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรนั้น โดย ที่ไมตองขออนุญาตศาลนั้น อาจเพิ่มมาตรการตรวจสอบโดยใหพนักงานเจาหนาที่ยื่นรายละเอียด เกี่ยวกับการใชอํานาจดังกลาวอยางเร็วที่สุด และอาจเพิ่มโทษในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่ทําสําเนา ขอมูลดังกลาว และขอมูลดังกลาวถูกเปดเผยหรือรั่วไหล

5.2.2 มาตรการในเรื่องขอบเขตอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ที่ตองขอ อนุญาตศาล

ในกรณีที่ตองขออนุญาตซึ่งเปนการควบคุมหรือตรวจสอบการใชอํานาจของ พนักงานเจาหนาที่นั้น เพื่อประโยชนในทางปฏิบัติ อาจมีขอยกเวนในบางกรณีที่จําเปน เรงดวน อาจใชอํานาจไปกอนได เชนการทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอร ตามหลักมาตรา 18(4) โดยพนักงาน เจาหนาที่เมื่อไดทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอรในกรณีจําเปน เรงดวน โดยที่ไมไดขออนุญาตศาล ให

รายงานการใชอํานาจดังกลาวตอศาลโดยเร็วพลัน อาจกําหนดระยะเวลาเขามากํากับดวยเพื่อความ ชัดเจนในทางปฏิบัติ เชน ภายใน 24 ชั่วโมง ภายใน 3 วัน เปนตน พรอมทั้งแสดงถึงเหตุจําเปน เรงดวน รายละเอียดตางๆ ใหศาลเปนผูพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งถาพนักงานเจาหนาที่ใชอํานาจ ดังกลาวโดยมิชอบ ศาลอาจสั่งระงับการดําเนินการนั้นก็ได และยอมรับฟงพยานหลักฐานที่ไดมา จากการใชอํานาจดังกลาวไมได และใหกําหนดบทลงโทษ กรณีที่พนักงานเจาหนาที่กระทําการ ดังกลาว โดยไมมีเหตุจําเปนหรือเรงดวน เพื่อใหกระทบตอสิทธิเสรีภาพของประชาชนใหนอยที่สุด

5.2.3 มาตรการในเรื่องความรับผิดของพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมาย

การพิจารณาลงโทษพนักงานเจาหนาที่นั้น ควรกําหนดอัตราโทษใหเหมาะสมกับ กรณีความผิดเปนกรณีๆ ไป สําหรับในกรณีของ "ประมาท" กฎหมายควรวางละเอียดของการ กระทําหรือการงดเวนการกระทําใด ที่ถือเปน "ประมาท" อันเปนผลทําใหพนักงานเจาหนาที่ตองรับ ผิดที่กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร

หรือขอมูลของผูใชบริการที่พนักงานเจาหนาที่ไดมาตามมาตรา 18 เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่ได

ทราบแนวทางที่ชัดเจนในทางปฏิบัติมากขึ้น

5.2.4 มาตรการในเรื่องการประสานงานของพนักงานเจาหนาที่กับพนักงาน สอบสวนผูรับผิดชอบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

สรางความรู ความเขาใจ กับพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ เนื่องจากพนักงาน สอบสวนผูรับผิดชอบ เปนผูเริ่มเปดคดีเปนสวนใหญ เพราะเมื่อมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น ประชาชนทั่วไปสวนใหญตองไปแจงความที่สถานีตํารวจกอนเปนอันดับแรก

5.1 สรุปการดําเนินงานวิจัย

เมื่อพิจารณาจากขอมูลและบทวิเคราะหทั้งหมดที่ผานมา สามารถสรุปไดวาปญหา ขอกฎหมายในการใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติฯ มีดังตอไปนี้

5.1.1 ปญหาในเรื่องขอบอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ที่ไมตองขออนุญาตศาล ตามพระราชบัญญัติฯ มาตรา 18(1) (2) และ (3) เจาพนักงานสามารถใชอํานาจใน การสอบถาม เรียกบุคคล ขอขอมูลที่ผูใหบริการเก็บไวไดโดยไมจําเปนตองขออนุญาตจากศาล ตาม ความในมาตรา18(3) อางถึง มาตรา 26 กําหนดใหผูบริการตองเก็บขอมูลยอนหลัง 90 วัน และเจา พนักงานก็เรียกตรวจสอบไดทันทีโดยไมตองขออนุญาตจากศาล ซึ่งเปนการเพิ่มภาระใหกับผูให

บริการ(เจาของเซิรฟเวอร)เปนอันมาก เชน มหาวิทยาลัย ตองจัดเก็บขอมูลของทุกองคกรยอยๆ ที่อยู

ภายใตการกํากับดูแล เพื่อเปนหลักฐาน เนื่องจากเจาหนาที่ของรัฐอาจเรียกเอาขอมูลเมื่อใดก็ได

อาจจะตองปรับกฎหมายหรือกระจายภาระในการจัดเก็บขอมูลไปใหแกหนวยงานยอยๆ เพื่อใหเกิด ความรับผิดชอบของหนวยงานตางๆ ที่มีความใกลชิดกับผูที่ใชคอมพิวเตอรไมเหมะสม นอกจากนี้

ยังเห็นวาภาระตามกฎหมายขอนี้มีมาก อาจตองใหศาลเขามาเปนผูพิจารณาวา เจาหนาที่จะขอขอมูล ไดมากนอยเพียงใดดวย

สําหรับอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ที่ไมตองขออนุญาตศาลนั้น ในการรวบรวม พยานหลักฐานสําหรับการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ซึ่งอํานาจเหลานี้มีคอนขางจํากัด และตองใชระยะเวลาในการรวบรวมพยานหลักฐาน อีกทั้งพยานหลักฐานของการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอรนั้น มีลักษณะที่แตกตางจากการกระทําความผิดอาญาทั่วไป ซึ่งผูกระทํา ความผิดที่มีความชํานาญ มักจะปกปดคุณลักษณะ (identity) ของตนเอง และตํารวจก็มีขอจํากัดตาม กฎหมายในการเขาไปตรวจสอบเครือขายคอมพิวเตอรคือไดแคเรียกใหผูใหบริการนั้นสงขอมูล เกี่ยวกับผูกระทําความผิด จึงเปนลักษณะขอความรวมมือจากผูใหบริการ อีกทั้งการรวบรวม พยานหลักฐานในบางขั้นตอน เชน การทําสําเนาขอมูลทางคอมพิวเตอรนั้น พนักงานเจาหนาที่

จะตองขออนุญาตจากศาลกอน ซึ่งขั้นตอนและกระบวนการขอหมายจากศาลนั้น ยอมตองใชเวลา อาจทําใหการทํางานในเรื่องการรวบรวมพยานหลักฐานนั้นขาดความตอเนื่อง

5.1.2 ปญหาในเรื่องขอบเขตอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ที่ตองขออนุญาตศาล จากการศึกษาไดพบวา ในทางปฏิบัติ พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติฯ นั้น ประสบปญหาตอการใชอํานาจในกรณีที่ตองขออนุญาตจากศาล ซึ่งไดแก ในกรณีที่พนักงาน

เจาหนาที่จะใชอํานาจ ตามมาตรา 18(4) – (8) ไดแก การทําสําเนาขอมูล สั่งใหสงมอบอุปกรณ

เขาถึงระบบคอมพิวเตอรของผูอื่น ถอดรหัสขอมูล การยึดอายัด เนื่องจากขั้นตอนการทํางาน บางครั้งอาจมีความลาชาทั้งนี้ การยื่นคํารองนั้น พนักงานเจาหนาที่ตองระบุ “เหตุอันควรเชื่อ” ไดวา บุคคลใดกระทําหรือกําลังจะกระทําการอยางหนึ่งอยางใดอันเปนความผิดตามพระราชบัญญัตินี้

เหตุที่ตองใชอํานาจ ลักษณะของการกระทําความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณที่ใชในการกระทํา ความผิดและผูกระทําความผิด เทาที่สามารถจะระบุได ประกอบคํารองดวยในการพิจารณาคํารอง ใหศาลพิจารณาคํารองดังกลาวโดยเร็ว อีกทั้งศาลยังตองใชระยะเวลาในการพิจารณาเพื่ออนุญาต หรือไมอนุญาต ตามคําขอ อีกทั้งคดีทีเกี่ยวกับการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรนั้น ผู

พิพากษาที่มิไดมีความรูความเชี่ยวชาญดานนี้มากอน อาจตองอาศัยระยะเวลาในการทําความเขาใจ ซึ่งอาจไมสอดคลองกับหลักการที่คดีลักษณะเหลานี้ตองกระทําดวยความรวดเร็ว โดยเฉพาะอํานาจ ศาลในการมีคําสั่งใหระงับการทําใหแพรหลายซึ่งขอมูลคอมพิวเตอร หรือการบล็อกเว็บไซต ตาม มาตรา 20 ซึ่งเปนการกระทําความผิดที่ตามพระราชบัญญัติฯที่กระทบตอความมั่นคงแหง ราชอาณาจักร หรือที่มีลักษณะขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรม แพรระบาดและกระทบ ความรูสึกรวมของคนในสังคมเปนอยางมาก และในการใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่หรือศาล ในกรณีดังกลาวนั้น อาจทําใหมองไดวา มาตรการของรัฐในกรณีดังกลาวทําใหสิทธิและเสรีภาพใน การรับรูขอมูลขาวสารของประชาชนลดนอยลง ซึ่งจากปญหาอุปสรรคเหลานี้เอง ที่ทําใหการ ดําเนินการในกรณีดังกลาว เปนไปดวยความลาชา ซึ่งในกฎหมายอื่นๆ ไมมีมาตรการควบคุมการใช

อํานาจของพนักงานเจาหนาที่ในลักษณะเดียวกับกฎหมายนี้ ดังนั้นกฎหมายตองการสรางกลไกให

เจาหนาที่ของรัฐมีความคลองตัวในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร หรืออาชญากรรมทางคอมพิวเตอรที่มีความรุนแรงมีผลกระทบตอความมั่นคง เศรษฐกิจซึ่งตองคํานึงประโยชนของสาธารณชนดวย

5.1.3 ปญหาเรื่องความรับผิดของพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมาย

พนักงานเจาหนาที่อาจตองรับผิดตามพระราชบัญญัติฯแมกระทําโดยประมาทใน กรณีที่เปดเผยขอมูลที่ไดรับตามมาตรา 18 ซึ่งจะเปนปญหาในทางปฏิบัติสําหรับพนักงาน เจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติฯ เนื่องจากพนักงานเจาหนาที่ไมกลาสืบพยานหลักฐานไดอยางเต็มที่

อีกทั้งคดีการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรนั้นสวนใหญจะเชื่อมโยงกับความผิดตาม กฎหมายอื่นดวย

5.1.4 ปญหาในเรื่องการประสานงานของพนักงานเจาหนาที่

ปญหาที่พบในทางปฏิบัติ คือ การที่พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบนั้น ขาดความรู

และความเขาใจในกฎหมายเกี่ยวกับการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ซึ่งบางครั้งมีความ