• Tidak ada hasil yang ditemukan

กรอบแนวทางที่ส าคัญของยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว 20 ปี

ซึ่งรายละเอียดของ กรอบแนวทางที่ส าคัญของยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว 20 ปี

ประกอบด้วย

63 1. ด้านความมั่นคง

1.1 การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

1.2 การปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศ

1.3 การป้องกันแก้ไขการก่อความไม่สงบในชายแดนใต้

1.4 การบริหารจัดการความมั่นคงชายแดนและชายฝั่งทะเล

1.5 การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศ 1.6 การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกก าลังป้องกันประเทศและกองทัพ 1.7 การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติรักษาความมั่นคงของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และการปกป้องรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล รวมทั้ง เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารพลังงาน และน้ า

1.8 การปรับกระบวนการท างานของกลไกที่เกี่ยวข้องสู่แนบระนาบมากขึ้น 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน

2.1 การพัฒนา สมรรถนะทางเศรษฐกิจ ได้แก่ รักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจ และสร้างความเชื่อมั่นส่งเสริมการค้าการลงทุน และพัฒนาสู่ความเป็นชาติการค้า

2.2 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ ภาคเกษตร โดยเสริมสร้างฐานการผลิต เข้มแข็งและยั่งยืน พัฒนาสินค้าเกษตรและอาหาร และส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยสู่รูปแบบเกษตร ยั่งยืนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และรวมกลุ่มเกษตรกร ภาคอุตสาหกรรม โดยพัฒนาอุตสาหกรรม ศักยภาพ สร้างความเข้มแข็งให้ผู้ประกอบการ ภาคบริการ พัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว ผลักดัน ไทยสู่ศูนย์กลางการบริการสุขภาพ และส่งเสริมธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ

2.3 การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน ได้แก่ พัฒนาทักษะ และองค์ความรู้ยกระดับผลิตภาพแรงงาน พัฒนา SMEs ยกระดับศักยภาพ OTOP และพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและสถาบันเกษตรกร

2.4 การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง โดยพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน พื้นที่เศรษฐกิจชายฝั่งทะเลตะวันออก ระบบเมืองศูนย์กลางความเจริญของประเทศ และคลัสเตอร์ที่มีศักยภาพในการขับเคลื่อนประเทศ

2.5 การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ในด้านการขนส่ง ความมั่นคง และพลังงาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการวิจัยและพัฒนา

2.6 การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา กับนานาประเทศ ส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการประกอบธุรกิจ ฯลฯ

64 3. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน

3.1 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของ ประเทศ โดยพัฒนาตลอดช่วงชีวิต

3.2 การยกระดับคุณภาพการศึกษาการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ 3.3 การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี

3.4 การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย

4. การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม

4.1 การสร้างความมั่นคงและลดความเหลื่อมล้ าด้านเศรษฐกิจและสังคม 4.2 การพัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ

4.3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสังคมสูงวัย

4.4 การสร้างความเข้มแข็งสถาบันทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมและชุมชน 4.5 การพัฒนาการสื่อสารมวลชน

5. การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5.1 การปรับปรุงการบริหารจัดการายได้และรายจ่ายของภาครัฐ 5.2 การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ 5.3 การปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ 5.4 การวางระบบบริหารงานราชการแบบบูรณาการ

5.5 การพัฒนาระบบบริหารจัดการก าลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ 5.6 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ

5.7 การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับให้ทันสมัย เป็นธรรม 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

6.1 การปรับปรุงการบริหารจัดการายได้และรายจ่ายของภาครัฐ 6.2 การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ 6.3 การปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ 6.4 การวางระบบบริหารงานราชการแบบบูรณาการ

6.5 การพัฒนาระบบบริหารจัดการก าลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ 6.6 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ

6.7 การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับให้ทันสมัย เป็นธรรม 2. นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและพัฒนาก าลังคนของไทย

ประเทศไทยมีการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติโดยส านักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ซึ่งสังกัดส านักนายกรัฐมนตรี

65 เพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการพัฒนาประเทศในแต่ละช่วงระยะเวลา 5 ปี ซึ่งฉบับแรกเริ่มต้นใน ปี พ.ศ. 2504-2509 ซึ่งได้วางแผนต่อเนื่องมาจนถึงฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 และในปัจจุบัน สศช.

ได้วางกรอบและทิศทางวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในช่วงเริ่ม 35 ปีแรก ได้มุ่งเน้น เฉพาะการเร่งรัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลัก ยุทธศาสตร์ของการพัฒนามุ่งเน้นที่จะขยาย การผลิตด้านอุตสาหกรรมและส่งเสริมการส่งออก โดยใช้ความได้เปรียบทางทรัพยากรธรรมชาติที่มี

อย่างเหลือเฟือ และแรงงานที่มีค่าจ้างต่ าเป็นปัจจัยในการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยไม่ได้ค านึงถึง ผลกระทบต่อคน และคุณค่าของความเป็นมนุษย์เท่าที่ควร การพัฒนาที่เน้นความเจริญเติบโต

ทางเศรษฐกิจอาจเหมาะสมหรือสอดคล้องกับสถานการณ์ของประเทศในขณะนั้นซึ่งผลของการพัฒนา ในระยะ 35 ปีตามที่กล่าวข้างต้น พอสรุปได้ว่า ประสบผลส าเร็จเป็นที่น่าพอใจในหลาย ๆ เรื่อง แต่ในขณะเดียวกันก็ยังมีปัญหาอีกหลายประการ เช่น ปัญหาด้านสังคม และความเสื่อมโทรม

ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหรืออยู่ในสภาพที่เรียกว่า เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา และ การพัฒนาไม่ยั่งยืน หากปล่อยไว้จะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศในระยะยาวและผลสุดท้ายจะ

กระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้ด้อยโอกาสที่ไม่สามารถปรับตัวได้ทันกับ การเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นไปอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัตน์ 1

จากการสรุปผลดังกล่าวน ามาซึ่งการจัดเตรียมวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 8 ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจึงได้ปรับเปลี่ยน แนวคิดการพัฒนา จากเดิมที่เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นจุดมุ่งหมายหลักแต่เพียงอย่างเดียว เป็นการเน้นให้คนเป็นศูนย์กลาง หรือเป้าหมายสุดท้ายของการพัฒนา เพราะคนเท่านั้นที่เป็นปัจจัย ชี้ขาดถึงความส าเร็จของการพัฒนาในทุกเรื่อง ดังนั้นในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ฉบับที่ 8 เป็นต้นมา จนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 จึงได้เน้นการผลิตและ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นส าคัญด้วย ซึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11-12 มีรายละเอียดของแนวทางในการผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ดังนี้

2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ได้ก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่

สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน มุ่งเตรียมคนให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง โดยให้

ความส าคัญกับการพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัยให้มีภูมิคุ้มกันเพื่อเข้าสู่สังคมแห่งการเรียนรู้

ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเสริมสร้างศักยภาพของคนในทุกมิติให้

มีความพร้อมทั้งด้านร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสติปัญญาที่รอบรู้และมีจิตใจที่ส านึกในคุณธรรม จริยธรรม มีความเพียร และรู้คุณค่าความเป็นไทยมีโอกาสและสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิต ควบคู่กับ การเสริมสร้างสภาพแวดล้อมในสังคมและสถาบันทางสังคมให้เข้มแข็งและเอื้อต่อการพัฒนาคน

66 รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นให้เข้มแข็งและสามารถสร้างภูมิคุ้มกันให้คนในชุมชน

และเป็นพลังทางสังคมในการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ยุทธศาสตร์ดังกล่าวได้น ามาใช้ในด้านการศึกษา ทั้งมูลนิธิสถาบันการศึกษา สถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้

การก ากับดูแลของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและสถาบันวิจัย อื่น ๆ ได้มีการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการน าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้อย่าง หลากหลายมากขึ้น มีการสังเคราะห์บทเรียนจากการปฏิบัติจริงน ามาจัดระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงอย่างกว้างขวางในหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และท้องถิ่น จัดท าหลักสูตรการเรียน การสอนและการฝึกอบรมเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาหลักสูตรทั้งระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานและมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะระดับอุดมศึกษามี 26 หลักสูตร/รายวิชา ใน 19 สถาบัน มีการเสริมสร้างเครือข่าย การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยที่มีการเปิดสอน รวมทั้งจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสม่ าเสมอ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้เข้มข้นยิ่งขึ้น

นอกจากนี้ได้ก าหนดยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม มุ่งเชื่อมโยงมิติของการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับมิติ

ของความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ บนพื้นฐานของการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีภูมิคุ้มกัน ต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก โดยให้ความส าคัญกับการพัฒนาฐานการผลิตและการลงทุน ของประเทศให้เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งเชื่อมโยงกับ การผลิตในประเทศ พัฒนาความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนาที่ยั่งยืนบนพื้นฐานของผลประโยชน์

ร่วมกันทั้งในระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาค และสร้างปฏิสัมพันธ์ในความร่วมมือระหว่างประเทศอย่าง สร้างสรรค์ เตรียมความพร้อมประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนให้ความส าคัญกับการพัฒนา ก าลังคนในทุกภาคส่วนให้มีทักษะที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงควบคู่ไปกับการพัฒนาความเชื่อมโยงด้าน ขนส่งและระบบโลจิสติกส์ภายใต้กรอบร่วมมืออนุภูมิภาค ปรับปรุงกฎ ระเบียบการขนส่งคนและ สินค้า เพื่อลดต้นทุนการด าเนินธุรกิจและเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนา ภายในประเทศ ตั้งแต่ระดับชุมชนท้องถิ่นให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง

2.2 ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ในช่วงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ประเทศไทยจะยังคงประสบ

สภาวะแวดล้อมและบริบทของการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงทั้งจากภายในและ ภายนอกประเทศ อาทิกระแสการเปิดเศรษฐกิจเสรีความท้าทายของเทคโนโลยีใหม่ ๆ การเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุการเกิดภัยธรรมชาติที่รุนแรง ประกอบกับสภาวการณ์ด้านต่าง ๆ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศในปัจจุบันที่ยังคงประสบปัญหาในหลายด้าน เช่น ปัญหาผลิตภาพการผลิตความสามารถในการแข่งขัน คุณภาพการศึกษา ความเหลื่อมล้ าทางสังคม