• Tidak ada hasil yang ditemukan

136 ขั้นตอน วิธีด าเนินการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ภาพประกอบ 8 ขั้นตอนการด าเนินการวิจัย ระยะที่ 1

การศึกษาแนวทาง การนิเทศเพื่อส่งเสริม การจัดการเรียนรู้ในการ พัฒนาทักษะอาชีพและ

การมีงานท า

1. ศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสารต่าง ๆ ที่

เป็นแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการ นิเทศและการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพ และการมีงานท า

2. ศึกษาดูงานโรงเรียนที่มีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ 3. การสังเคราะห์องค์ประกอบและตัวชี้วัดการจัดการ เรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานท า

- ได้ข้อมูลเกี่ยวกับ องค์ประกอบและตัวชี้วัด ของการนิเทศเพื่อส่งเสริม การจัดการเรียนรู้ทักษะ อาชีพและการมีงานท า - ได้กรอบแนวคิดในการ สร้างรูปแบบการนิเทศ เพื่อส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้ในการพัฒนา ทักษะอาชีพและการมี

งานท า

ระยะที่ 3 การประเมินรูปแบบการ

นิเทศเพื่อส่งเสริมการ จัดการเรียนรู้ในการ พัฒนาทักษะอาชีพและ

การมีงานท า

1. สร้างความเข้าใจและชี้แจงให้ศึกษานิเทศก์

ผู้บริหาร/บุคลากรในสถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย 3. ประเมินความเหมาะสม/ความเป็นไปได้/ความ เป็นประโยชน์ของรูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการ จัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงาน ท า

ได้รูปแบบการนิเทศ เพื่อส่งเสริมการ จัดการเรียนรู้ในการ พัฒนาทักษะอาชีพ และการมีงานท า ได้ร่างรูปแบบการนิเทศ เพื่อส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้ในการพัฒนา

ทักษะอาชีพและการมี

งานท า 1. ยกร่างรูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการ

เรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานท า 2. ประเมินความเหมาะสม/เป็นไปได้ร่างรูปแบบ

3. ปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญ 4. สร้างคู่มือประกอบการด าเนินการตามรูปแบบ 5.สนทนากลุ่มตรวจสอบยืนยัน (Focus Group

Discussion) 6. ปรับปรุงตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 2

การพัฒนารูปแบบ การนิเทศเพื่อส่งเสริม

การจัดการเรียนรู้ใน การพัฒนาทักษะ อาชีพและการมีงาน

ท า

137 ระยะที่ 1 การศึกษาแนวทางการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและ การมีงานท า ส าหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

วัตถุประสงค์

1. เพื่อศึกษาแนวทางการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการพัฒนา ทักษะอาชีพและการมีงานท า ส าหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

วิธีด าเนินการ

การศึกษาเอกสาร ต ารา แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เป็นขั้นตอนของการศึกษาเอกสาร ต ารา แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อน ามาวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ประกอบและตัวชี้วัด เพื่อน าไปพัฒนาเป็นรูปแบบการนิเทศ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานท า ส าหรับโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีรายละเอียดในการด าเนินการ ดังนี้

วัตถุประสงค์

เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการนิเทศ การจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานท า เพื่อน าไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการพัฒนารูปแบบการนิเทศ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพ และการมีงานท า ส าหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

แหล่งข้อมูล

เอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศเพื่อส่งเสริม การจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานท า

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล

แบบวิเคราะห์เอกสารเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิเคราะห์

เอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง (Documentary Study) การเก็บรวบรวมข้อมูล

1. ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอันประกอบด้วย ข้อมูลที่มีความส าคัญต่อการสร้างองค์ประกอบของการนิเทศ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้

ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานท า ส าหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา

138 สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการนิเทศ

องค์ประกอบของการนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ เทคนิคการนิเทศ และแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ เรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานท า

2. ก าหนดกรอบแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบของการวิจัย ซึ่งผู้วิจัยน าข้อมูลที่ได้

จากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังกล่าวมาข้างต้นไปวิเคราะห์

และสังเคราะห์ โดยผ่านการตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

จนได้มาซึ่ง องค์ประกอบเกี่ยวกับการนิเทศและการจัดการเรียนรู้

การวิเคราะห์ข้อมูล

น าข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์เอกสารมาวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) แล้วน าเสนอในรูปแบบพรรณนาความ

2. ศึกษาดูงานโรงเรียนที่มีผลการด าเนินการที่เป็นเลิศด้านการจัดการเรียนรู้

ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานท า (Best Practices) มีรายละเอียดในการด าเนินการ ดังนี้

วัตถุประสงค์

เพื่อศึกษาแนวทางและกระบวนการด าเนินงานของโรงเรียนที่มีผลการด าเนินการ ที่เป็นเลิศในการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานท า

แหล่งข้อมูล

โรงเรียนที่มีผลการด าเนินการที่เป็นเลิศในการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะ อาชีพและการมีงานท า ได้แก่ โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีการจัดการเรียนรู้ด้านทักษะอาชีพและการมีงานท าที่มีคุณภาพ จ านวน 3 แห่ง ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sample) โดยก าหนดหลักเกณฑ์ว่า ต้องเป็นโรงเรียนที่มีผลงานดีเด่นที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ทักษะด้านอาชีพและการมีงานท า เป็นที่ประจักษ์และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกัน โรงเรียนหรือนักเรียนได้รับรางวัลดีเด่นในระดับชาติ

หรือระดับอื่น ๆ

เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล

1. แบบบันทึกภาคสนาม ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลจากการสังเกต และสัมภาษณ์เกี่ยวกับการนิเทศและการจัดการเรียนรู้ทักษะอาชีพและการมีงานท า

2. เครื่องบันทึกเสียง เครื่องบันทึกภาพ (VDO) กล้องถ่ายภาพ การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล

1. ศึกษาเอกสาร ต ารา แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบเก็บข้อมูลของ โรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ทักษะด้านอาชีพและ

การมีงานท า และน าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสารมาก าหนดโครงสร้างในการศึกษาดูงาน

139 2. ตรวจสอบความเที่ยงตรงตามโครงสร้างของเนื้อหารวมทั้งความเหมาะสมของ การใช้ภาษาโดยตรวจสอบความตรงตามโครงสร้างของเนื้อหารวมทั้งความเหมาะสมของการใช้ภาษา โดยผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 7 ท่าน ประกอบด้วย

2.1 รองศาสตราจารย์ ดร.ธรินธร นามวรรณ หัวหน้าภาควิชาการบริหาร การศึกษา ประธานหลักสูตรสาขาวิชาการนิเทศการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย มหาสารคาม

2.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี ภาควิชาการบริหาร การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2.3 รองศาสตราจารย์ ดร.ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน ภาควิชาวิจัยและพัฒนา การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2.4 รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ เรือนนะการ ภาควิชาวิจัย และพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2.5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเทียบ ละอองทอง อดีตอาจารย์ประจ าภาควิชา หลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

2.6 ดร.ธนาศักดิ์ ศิริปุณยนันท์ ประธานสมาพันธ์ศึกษานิเทศก์

แห่งประเทศไทย อดีตผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3

2.7 ดร.สมหวัง พันธะลี ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัด กาฬสินธุ์ ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์

การเก็บรวบรวมข้อมูล

เก็บรวมรวมข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ทักษะด้านอาชีพและการมีงานท า ของโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practices) มาสร้างข้อสรุปแล้วน าไปประกอบการยกร่างรูปแบบ การนิเทศ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานท า ส าหรับโรงเรียน ขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานต่อไป

โดยมีรายละเอียดวิธีด าเนินการ ดังนี้

1. เลือกโรงเรียนต้นแบบด้านการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนา ทักษะอาชีพและการมีงานท า ส าหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดส านักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นเลิศ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sample) จ านวน 3 โรงเรียน ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ คือ เป็นโรงเรียนที่มีผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์เกี่ยวกับ การจัดการเรียนรู้ทักษะด้านอาชีพและการมีงานท าเป็น ที่ประจักษ์และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกัน โรงเรียนหรือนักเรียนได้รับรางวัลดีเด่นในระดับชาติหรือระดับอื่น ๆ