• Tidak ada hasil yang ditemukan

กระบวนการด าเนินการวิจัยระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน

เอกสารเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี ต ารา และงานวิจัยที่

เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 2 การส ารวจสภาพ ปัจจุบัน ความต้องการ

สัมภาษณ์นักศึกษาเกี่ยวกับความ ต้องการ เพื่อพัฒนาองค์ประกอบ ในการพัฒนาลักสูตร

การศึกษาเอกสารเกี่ยวกับ แนวคิด ทฤษฎี ต ารา และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อน าข้อมูล ไปพัฒนากิจกรรมของหลักสูตรที่

เสริมสร้างสมรรถนะด้านการ จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้

ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและ เทคโนโลยี TPACK)

ศึกษากระบวนการพัฒนา หลักสูตรฝึกอบรม

วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน

ใช้ได้ ใช้ไม่ได้ แก้ไข/ปรับปรุง

แนวคิดความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอนและ เทคโนโลยี (TPACK)

ก าหนดจุดมุ่งหมายและกรอบแนวคิดในการพัฒนา หลักสูตร

อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบ

73 การวิจัยระยะที่ 2 การพัฒนา

การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู โดยมีขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 สร้างและการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพครู จากข้อมูลพื้นฐาน ดังต่อไปนี้

1.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้าง สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

1.2 น าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสารต่าง ๆ มาสร้างการพัฒนาหลักสูตร ฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะ ด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)

2.1 ให้ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและ ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครูโดยมี

ผู้เชี่ยวชาญดังนี้

1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภมรพรรณ์ ยุระยาตร์ คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญทางด้านจิตวิทยา

2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการวัดผลและประเมินผลการศึกษา

3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพาพร สุจารี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญทางด้านจิตวิทยา

4) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมาน เอกพิมพ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญทางด้านหลักสูตรและการสอน

5) อาจารย์ ดร.จิรา ลังกา ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษา 29 ผู้เชี่ยวชาญทางด้านหลักสูตรและการสอน

6) อาจารย์ ดร.นฤมล อเนกวิทย์ ผู้อ านวยการวิทยาลัย วิทยาลัยพยาบาล ศรีมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญทางด้านหลักสูตรและการสอน

74 7) อาจารย์ ดร.รัฐสาน์ เลาหสุรโยธิน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยี

เครื่องมือ

- หลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)

- คู่มือการใช้หลักสูตรฝึกอบรม

2.2 น าเครื่องมือที่ออกแบบน าไปหาความถูกต้องของเนื้อหาและความเหมาะสม และเป็นไปได้ของรูปแบบเป็นแบบสอบถามชนิดประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ

โดยผู้เชี่ยวชาญตัดสินว่ารูปแบบมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้แต่ประเด็นหรือไม่ และมีค าถาม แบบปลายเปิด เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

2.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

น าผลการประเมินหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการ เรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษา วิชาชีพครู และข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร

2.4 การวิเคราะห์ข้อมูล

2.4.1 การวิเคราะห์ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของหลักสูตร

เสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู ซึ่งเป็นมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) ตามวิธีของ ลิเคอร์ท (Likert) ซึ่งมี 5 ระดับดังนี้

5 หมายถึง ความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับดีมาก 4 หมายถึง ความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับดี

3 หมายถึง ความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับปานกลาง 2 หมายถึง ความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับน้อย 1 หมายถึง ความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับน้อยที่สุด 2.4.2 ด าเนินการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละข้อค าถาม โดยพิจารณาค่าความคิดเห็นเทียบกับเกณฑ์ ซึ่งสามารถแปลความหมายได้ดังนี้

ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 4.51 – 5.00 หมายถึง หลักสูตรมีความเหมาะสม และความเป็นไปได้อยู่ในระดับดีมาก

ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.51 – 4.50 หมายถึง หลักสูตรความเหมาะสม และความเป็นไปได้อยู่ในระดับดี

75 ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 2.51 – 3.50 หมายถึง หลักสูตรความเหมาะสม และความเป็นไปได้อยู่ในระดับปานกลาง

ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.51 – 2.50 หมายถึง หลักสูตรความเหมาะสม และความเป็นไปได้อยู่ในระดับน้อย

ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00 – 1.50 หมายถึง หลักสูตรความเหมาะสม และความเป็นไปได้อยู่ในระดับน้อยที่สุด

เกณฑ์ก าหนดค่าเฉลี่ยหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

ผู้วิจัยได้มีการก าหนดให้มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีหรือตั้งแต่ 3.51 สามารถน าไปใช้ได้

ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้นักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 4 จ านวน 23 คน ซึ่งได้มาโดยการ สุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling)

ระยะเวลาที่ท าการวิจัย

ใช้ระยะเวลาในการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพครู

76 จากการศึกษาระยะที่ 2 พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการ เรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) เป็นแผนภาพประกอบ ดังนี้

ภาพประกอบ 7 กระบวนการด าเนินการวิจัยระยะที่ 2 พัฒนาหลักสูตร