• Tidak ada hasil yang ditemukan

ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร

ศึกษาปัจจุบัน และความต้องการใน การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการ เสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการ เรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

การวิจัยระยะที่ 3 ศึกษาผลของการใช้หลักสูตร

ฝึกอบรม

1.ร่างหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์

การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษา วิชาชีพครู

2. ตรวจสอบความถูกต้องโดยอาจารย์ที่ปรึกษา 3. ตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการพัฒนาหลักสูตร โดยใช้กระบวนการการวิพากย์หลักสูตรโดยมี

ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5ท่าน

4. การศึกษาและน าไปทดลองใช้กับกลุ่มทดลอง เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสม

5. น าข้อมูลมาปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรฝึกอบรมการ เสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

1. ศึกษาผลการใช้หลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้าง สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้

ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

1. ศึกษาปัจจุบัน และความต้องการในการพัฒนา หลักสูตร

2. แนวคิดและทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่

เกี่ยวข้อง

การวิจัยระยะที่ 2 การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการ เสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการ เรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

64 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบ่งตามกระบวนการวิจัยออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้

การวิจัยระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน และความต้องการ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ ก าหนดจุดมุ่งหมายของการพัฒนาหลักสูตร

1. ประชากร ได้แก่ นักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 5 จ านวน 13 สาขาวิชา จ านวนนักศึกษาทั้งหมด 308 คน

2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสัมภาษณ์เกี่ยวกับสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ได้แก่ นักศึกษาวิชาชีพครู

จ านวน 10 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยจัดกลุ่มตาม สาขาวิชา จะได้เป็น 13 กลุ่ม แล้วใช้การสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลาก

การวิจัยระยะที่ 2 การพัฒนา

เป็นการร่างหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู และ น าไปทดลองใช้ (Try out) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของหลักสูตรฝึกอบรมที่สร้างขึ้น

1. ประชากร ได้แก่ นักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 5 จ านวน 13 สาขาวิชา

2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสัมภาษณ์เกี่ยวกับสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ได้แก่ นักศึกษาวิชาชีพครู

จ านวน 10 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยจัดกลุ่มตาม สาขาวิชา จะได้เป็น 13 กลุ่ม แล้วใช้การสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลาก

การวิจัยระยะที่ 3 ศึกษาผลของการใช้หลักสูตรฝึกอบรม

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 5 จ านวน 27 คน ซึ่งได้มาโดย การสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยจัดกลุ่มตามสาขาวิชา จะได้เป็น 13 กลุ่ม แล้วใช้การสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลาก

การด าเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ผู้วิจัยได้ก าหนด ขั้นตอนการวิจัยเป็น 3 ระยะ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

การวิจัยระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน และความต้องการ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ ก าหนดจุดมุ่งหมายของการพัฒนาหลักสูตร ซึ่งแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ

65 ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาเอกสารเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ 2 การส ารวจสภาพปัจจุบัน ความต้องการในการใช้หลักสูตรฝึกอบรมตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)

การวิจัยระยะที่ 2 การพัฒนา แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน

ขั้นตอนที่ 1 ร่างหลักสูตรฝึกอบรมเป็นการสังเคราะห์ข้อมูลจากระยะที่ 1 จัดท าหลักสูตรฉบับร่างตามกรอบการพัฒนาหลักสูตร และจัดท าเป็นเอกสารมีการตรวจสอบโดย อาจารย์ที่ปรึกษาและผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ ปรับปรุงและแก้ไขตามข้อเสนอแนะ ก่อนน าไปทดลองใช้

ขั้นตอนที่ 2 พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) เป็นการน าหลักสูตรที่ผ่านการ ประเมินคุณภาพและปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองใช้ (Try out) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของหลักสูตร และแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้หลักสูตรสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

การวิจัยระยะที่ 3 ศึกษาผลของการใช้หลักสูตรฝึกอบรมเป็นการน าหลักสูตรที่

ผ่านการปรับปรุงแก้ไขแล้วไป (Implementation) กับกลุ่มตัวอย่างเพื่อศึกษาผลการใช้หลักสูตรตาม สภาพจริง

การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร

การวิจัยระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน

การศึกษาข้อมูลพื้นฐานส าหรับการพัฒนาหลักสูตร เป็นการด าเนินการเพื่อให้ได้ข้อมูล ในการน าข้อมูลมาวางแผนและพัฒนาหลักสูตร ซึ่งผู้วิจัยได้ด าเนินการตามขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา หลักสูตร ซึ่งรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาเอกสารเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อน าข้อมูลไปพัฒนาหลักสูตรหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

ซึ่งประกอบไปด้วยแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับหลักสูตรครุศาสตร์

บัณฑิตที่เป็นหลักสูตรให้มีความทันสมัยและฝึกให้นักศึกษามีสมรรถนะทางวิชาชีพครู รูปแบบ การพัฒนาหลักสูตรของทาบา และแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) เพื่อน ามาสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานส าหรับเป็นแนวทางในการส ารวจปัญหาและความต้องการของ การพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)

66 1. จุดมุ่งหมาย

1.1 เพื่อศึกษาเอกสารเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อน าข้อมูลไปพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

1.2 เพื่อก าหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรหลักสูตรฝึกอบรม การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและ เทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

2. แหล่งข้อมูล

เอกสาร ต ารา บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สื่อการเรียนรู้ทางอินเตอร์เน็ต เกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)

3. เครื่องมือ

ตารางวิเคราะห์ แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้

ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

4. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ

4.1 สร้างตารางเพื่อวิเคราะห์ตามประเด็นที่ก าหนดไว้ เพื่อสังเคราะห์ข้อมูล แนวคิด ทฤษฎี เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะ ด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)

4.2 น าประเด็นที่ก าหนดเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของประเด็นที่ต้องการใช้ในการเก็บข้อมูลตามตาราง จากน าข้อมูลมา ปรับปรุงแก้ไขข้อค าแนะน า

5. วิธีการเก็บข้อมูล

5.1 ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ใน เนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)

6. วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล

วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) น าข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาจ าแนก ตามประเด็นที่ก าหนด ดังนี้คือ เนื้อหาทางด้านหลักสูตรฝึกอบรมตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์

การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)

6.1 ส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้

67 6.1.1 ความสามารถในการบูรณาการด้านการจัดการเรียนรู้

6.1.2 ทักษะการเรียนรู้

6.1.3 เจตคติในการเรียนรู้

6.2 การพัฒนาหลักสูตร

6.1.1 ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร 6.1.2 ความส าคัญของหลักสูตร

6.1.3 องค์ประกอบของการพัฒนาหลักสูตร 6.1.4 หลักการการพัฒนาหลักสูตร

6.1.5 รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร

6.1.6 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม 6.1.7 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 2 การส ารวจสภาพปัจจุบัน ความต้องการในการใช้หลักสูตรฝึกอบรมตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู ซึ่งข้อมูล ที่ได้มาจากความร่วมมือจากนักศึกษาวิชาชีพครู เพื่อให้ทราบถึงความต้องการ เพื่อเป็นองค์ประกอบ ในการพัฒนาหลักสูตร

1. จุดมุ่งหมาย

เพื่อต้องการทราบถึงสภาพปัจจุบัน และความต้องการในการใช้หลักสูตร ฝึกอบรมตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ของนักศึกษา วิชาชีพครู โดยมีการก าหนดประเด็นในการศึกษาดังต่อไปนี้

1.1 สภาพปัจจุบัน และความต้องการในการใช้หลักสูตรฝึกอบรม ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ของนักศึกษาวิชาชีพครูเป็น อย่างไร

1.2 เพื่อศึกษาแนวทางและวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริม เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและ

เทคโนโลยี (TPACK)

2. ประชากรและกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

2.1 นักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 4 จ านวน 13 สาขาวิชา จ านวนนักศึกษา ทั้งหมด 308 คนประกอบด้วย

2.1.1 นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ จ านวน 21 คน 2.1.2 นักศึกษาสาขาวิชาเคมี จ านวน 23 คน 2.1.3 นักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษา จ านวน 15 คน