• Tidak ada hasil yang ditemukan

กระบวนการด าเนินการวิจัยระยะที่ 3 ศึกษาผลของการใช้หลักสูตรฝึกอบรม

ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)

ด าเนินการทดลองใช้หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นแบ่งเป็น 4 หน่วยการเรียนรู้ จ านวน 6 กิจกรรม รวมเวลา 24 ชั่วโมง

ประเมินสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้

1. แบบทดสอบความรู้ก่อนอบรม

2. แบบประเมินสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้

3. แบบทดสอบความรู้หลังอบรม

79 ตาราง 1 แสดงการสรุประยะด าเนินการวิจัย

ระยะ วัตถุประสงค์ วิธีการด าเนินการ แหล่งข้อมูล เครื่องมือ ผลที่ได้รับ การวิจัยระยะที่ 1

ศึกษาข้อมูล พื้นฐาน 1.1 ศึกษาเอกสาร เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี ต ารา และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อน าข้อมูลไป พัฒนาหลักสูตร ฝึกอบรมการ เสริมสร้าง สมรรถนะด้านการ จัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ใน เนื้อหาศาสตร์การ สอนและเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพครู

เพื่อศึกษาข้อมูล พื้นฐานไปพัฒนา หลักสูตรหลักสูตร ฝึกอบรมการ เสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ

ครู

ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฏี และ งานวิจัยที่

เกี่ยวข้อง และ ส ารวจความ ต้องการ

เอกสารเกี่ยวกับ แนวคิด ทฤษฏี

ต ารา และ งานวิจัยที่

เกี่ยวข้องกับการ หลักสูตรฝึกอบรม การเสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

1. แบบสอบถาม ความต้องการของ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

1. แนวทางใน การศึกษาสภาพ ปัญหาของ หลักสูตร เสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

1.2 ศึกษาสภาพ ปัจจุบัน และ ความต้องการของ นักศึกษาวิชาชีพ ครู เพื่อพัฒนา หลักสูตรฝึกอบรม การเสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK)

เพื่อศึกษาสภาพ ปัจจุบัน และ ความต้องการของ นักศึกษาวิชาชีพ ครู เพื่อพัฒนา หลักสูตรฝึกอบรม การเสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK)

ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสภาพ ปัจจุบัน และ ความต้องการของ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

1. นักศึกษา นักศึกษาวิชาชีพ ครู

1. แบบสอบถาม สภาพปัจจุบัน และความ ต้องการของ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

1. สภาพปัจจุบัน และกิจกรรม เนื้อหาของ หลักสูตร เสริมสร้าง สมรรถนะด้านการ จัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ใน เนื้อหาศาสตร์การ สอนและ เทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

80 ตาราง 1 (ต่อ)

ระยะ วัตถุประสงค์ วิธีการด าเนินการ แหล่งข้อมูล เครื่องมือ ผลที่ได้รับ 1.3 ศึกษากรอบ

แนวคิดในการ พัฒนาหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรม การเสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

1. เพื่อสร้าง และการพัฒนา หลักสูตรฝึกอบรม การเสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

ขั้นตอนที่ 1 ร่าง หลักสูตร ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบและ พัฒนาการจัดการ เรียนรู้ โดย ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 ท่าน ขั้นตอนที่ 3 การศึกษาและ น าไปทดลองใช้

กับกลุ่มทดลอง เพื่อตรวจสอบ ความถูกต้องและ เหมาะสม

1.ศึกษาแนวคิด ทฤษฏีและ หลักการเกี่ยวกับ หลักสูตรฝึกอบรม การเสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) 2. น าข้อมูลที่ได้

จากการศึกษา เอกสารต่างๆ มา สร้าง และพัฒนา หลักสูตร

- แบบสัมภาษณ์

ส าหรับนักศึกษา วิชาชีพครู

1. แนวคิดการ พัฒนาหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรม การเสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

การวิจัยระยะที่

2

2.พัฒนาหลักสูตร 2.1 สร้างและการ พัฒนาหลักสูตร ฝึกอบรมการ เสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

1. พัฒนา หลักสูตรฝึกอบรม การเสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

ขั้นตอนที่ 1 ร่าง หลักสูตร ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบและ พัฒนาการจัดการ เรียนรู้ โดย ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 ท่าน ขั้นตอนที่ 3 การศึกษาและ น าไปทดลองใช้

กับกลุ่มทดลอง เพื่อตรวจสอบ และประเมิน ความเหมาะสม

1. การพัฒนา หลักสูตรฝึกอบรม การเสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

- แบบประเมิน คุณภาพหลักสูตร ฝึกอบรมการ เสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) - แบบประเมิน คุณภาพคู่มือการ ใช้หลักสูตร

1. หลักสูตร ฝึกอบรมการ เสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครูที่มีคุณภาพที่

ผ่านการ ตรวจสอบจาก ผู้เชี่ยวชาญ

81 ตาราง 1 (ต่อ)

ระยะ วัตถุประสงค์ วิธีการด าเนินการ แหล่งข้อมูล เครื่องมือ ผลที่ได้รับ การวิจัยระยะที่

3

ศึกษาผลของการ ใช้หลักสูตร ฝึกอบรม

1. เพื่อศึกษาผล การใช้หลักสูตร ฝึกอบรมการ เสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

ขั้นตอนที่ 1 น า หลักสูตรไปใช้

(Implementation) กับ กลุ่ม ตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้

ในการทดลอง คือ นักศึกษาชั้น ปีที่ 5คณะครุ

ศาสตร์

- แบบประเมิน สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

1. ผลการใช้

หลักสูตร ฝึกอบรมการ เสริมสร้าง สมรรถนะด้าน การจัดการเรียนรู้

ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหา ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยี

(TPACK) ส าหรับ นักศึกษาวิชาชีพ ครู

2. คู่มือการใช้

หลักสูตร

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลระหว่างด าเนินการปฏิบัติการ วิจัยและหลังจากสิ้นสุดการปฏิบัติการวิจัย โดยน าข้อมูลมาวิเคราะห์ ดังนี้

1. การวิเคราะห์ข้อมูลของแบบประเมินสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด ความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

2. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณจากแบบประเมินสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตาม กรอบแนวคิดความรู้ในเนื้อหาผสานวิธีสอนและเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการ เรียนรู้ โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test กรณีกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน t-test (Dependent Samples)

82 1. สถิติพื้นฐาน

1.1 ร้อยละ (Percentage) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) P = P =𝑁𝑓 × 100

เมื่อ P แทน ร้อยละ

f แทน ความถี่หรือจ านวนข้อมูลคุณลักษณะที่สนใจศึกษา N แทน จ านวนข้อมูลทั้งหมด

1.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) โดยค านวณจากสูตรต่อไปนี้ ดังนี้ (ภาควิชาวิจัยและพัฒนา การศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553)

X =

N

X

เมื่อ X แทน ค่าเฉลี่ย

X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม N แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม

1.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยค านวณจากสูตรต่อไปนี้ ดังนี้

(ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553) S.D. =

) 1 (

)

( 2

2

N N

X X

N

เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตัว

N แทน จ านวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด

83 2. สถิติที่ใช้ในการคุณภาพของเครื่องมือ

2.1 ค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบประเมินสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครูโดยใช้

สูตรดัชนีความสอดคล้อง IOC ดังนี้ (สมบัติ ท้ายเรือค า, 2551) เมื่อ

N

IOCR แทน ดัชนีความสอดคล้องของรายการประเมินสมรรถนะ R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด N แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด

2.2 วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิผลการใช้หลักสูตรฝึกอบรมตามกรอบแนวคิดความรู้

ในเนื้อหาผสานวิธีสอนและเทคโนโลยีของนักศึกษาวิชาชีพครู โดยใช้ t-test (Dependent Samples) ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

t =

1 )

( 2

2

 

n

D D

n

D

เมื่อ t แทน สถิติที่ใช้พิจารณา t-distribution

D แทน ผลรวมผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบครั้งแรกกับคะแนนทดสอบ ครั้งหลัง

D แทน ผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบครั้งแรกกับคะแนนทดสอบครั้งหลัง D2 แทน ผลรวมผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบครั้งแรกกับคะแนนทดสอบ ครั้งหลังแต่ละตัวยกก าลังสอง

D2 แทน ผลรวมผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบครั้งแรกกับคะแนนทดสอบ ครั้งหลังทั้งหมดก่อนยกก าลังสอง

n แทน จ านวนนักศึกษาทั้งหมด

84 บทที่ 4

ผลการด าเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ทั้งนี้เป็นการ พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบแนวคิดความรู้

ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู ซึ่งผู้วิจัยได้น าเสนอผล การวิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับ ดังนี้

1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3. การน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

เพื่อให้การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมายของข้อมูลเป็นที่เข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยจึงได้ก าหนดสัญลักษณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้

n แทน จ านวนของกลุ่มตัวอย่าง

แทน คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง

S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง df แทน ค่าความเป็นอิสระของข้อมูล

t แทน ค่าสถิติจากการแจกแจงแบบที

Sig แทน ค่าความน่าจะเป็นส าหรับบอกค่านัยส าคัญทางสถิติ

ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน และความต้องการของนักศึกษาวิชาชีพครู

เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ใน เนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)

ตอนที่ 2 ผลการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้

ตามกรอบแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)