• Tidak ada hasil yang ditemukan

องค์ประกอบธาตุของหญ้าหลายฤดูชนิดอื่นๆ

จากการทบทวนวรรณกรรมในบทที่ 2 ท าให้ทราบว่ามีปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการให้พลังงาน ความร้อนและความหนาแน่นพลังงานของเชื้อเพลิงมีอยู่ 3 ปัจจัย ได้แก่ ปริมาณตัวประสาน ก าลังอัด ในการขึ้นรูป และรูปทรงของก้อนของเชื้อเพลิง ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้น าปัจจัยดังกล่าวมาท าศึกษา กระบวนการอัดขึ้นรูปก้อนเชื้อเพลิงภายใต้เงื่อนไขที่ก าหนด คือ อัดขึ้นรูปเชื้อเพลิง 2 ขนาด ได้แก่

เชื้อเพลิงอัดก้อน (briquettes) และเชื้อเพลิงอัดเม็ด (pellets) จากหญ้าหลายฤดู โดยผสม หญ้า หลายฤดู : ตัวประสาน (แป้งมันส าปะหลัง) ทั้งหมด 5 อัตราส่วน ได้แก่ 60:40, 70:30, 80:20,

98 90:10, และ 100:0 และใช้ก าลังอัด 3 ก าลังอัด ได้แก่ 1 MPa, 2 MPa และ 3 MPa เพื่อหาปัจจัยที่มี

ความเหมาะสมส าหรับการขึ้นรูปก้อนเชื้อเพลิงให้ได้พลังงานความร้อนเทียบเท่ากับเชื้อเพลิงปัจจุบันที่

โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาด 9.9 MW ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ซึ่งแบ่งผลการศึกษาออกเป็นดังต่อไปนี้

1) ผลการศึกษาความหนาแน่นของเชื้อเพลิง 2) ผลการทดสอบความคงทนของเชื้อเพลิง

3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าความร้อนและความหนาแน่นพลังงาน 3.1) ปัจจัยด้านตัวประสานของเชื้อเพลิง

3.2) ปัจจัยด้านก าลังอัดของเชื้อเพลิง 3.3) ปัจจัยด้านขนาดรูปทรงของเชื้อเพลิง

4.2.1 ผลการศึกษาความหนาแน่นของเชื้อเพลิง

เป็นที่ทราบกันแล้วว่าความหนาแน่นของเชื้อเพลิงอัดแข็งมีความส าคัญต่อการขนส่งและ การจัดการเชื้อเพลิงอัดแข็ง ชีวมวลที่มีความหนาแน่นต ่าส่งผลให้การขนส่งและการจัดเก็บไม่มี

ประสิทธิภาพในเรื่องของน ้าหนักเชื้อเพลิง ปริมาตร และปริมาณพลังงาน จากการศึกษาความ หนาแน่นของก้อนเชื้อเพลิง งานวิจัยได้ศึกษาความหนาแน่นของเชื้อเพลิงอยู่ 2 รูปแบบ คือ ความ หนาแน่นรวม (Bulk Density) และความหนาแน่นก้อน (Pellets and Briquettes Density) พบว่า ความหนาแน่นรวมมีความสัมพันธ์กับความหนาแน่นพลังงาน โดยความหนาแน่นรวมสูงจะท าให้ความ หนาแน่นพลังงานเพิ่มสูงขึ้น จากการศึกษาความหนาแน่นของเชื้อเพลิงอัดแข็งสามารถ แสดงผล การศึกษาได้ดังหัวข้อต่อไปนี้

1) ความหนาแน่นรวมของเชื้อเพลิง (Bulk Density)

ความหนาแน่นรวมของเชื้อเพลิงเป็นปัจจัยส าคัญในแง่ของการขนส่งและการเก็บ รักษา การอัดจะเป็นการเพิ่มความหนาแน่นซึ่งสามารถลดปัญหาค่าขนส่งและขนาดของที่เก็บรักษาไว้

ได้ รวมถึงเพิ่มการขนส่งพลังงานของเชื้อเพลิงได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีสมมุติฐานที่ว่า วัสดุที่มีความ หนาแน่นสูงจะมีความคงทนสูง วัสดุยึดเกาะกันได้ดีไม่แตกร่วนง่าย ซึ่งจะศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความ หนาแน่นคือ รูปทรงเชื้อเพลิง ก าลังอัดการขึ้นรูป และอัตราส่วนตัวประสานของเชื้อเพลิง โดย เชื้อเพลิงที่ไม่มีตัวประสานเป็นเชื้อเพลิงที่ไม่สามารถขึ้นรูปได้ (ภาพประกอบ 44-45)

จากการวิเคราะห์ความหนาแน่นรวมของเชื้อเพลิงอัดแข็งโดยการน าเชื้อเพลิง หลังจากการขึ้นรูปและผ่านการลดความชื้นเรียบร้อยแล้วมาหาความหนาแน่น ซึ่งจะเปรียบเทียบ รูปทรงเชื้อเพลิงสองรูปทรงระหว่างเชื้อเพลิงอัดเม็ด (pellets) และเชื้อเพลิงอัดก้อน (briquettes) เปรียบเทียบก าลังอัดขึ้นรูปของก้อนเชื้อเพลิงคือ 1 MPa, 2 MPa และ 3 MPa รวมทั้งเปรียบเทียบ

99 เชื้อเพลิงที่ใช้ตัวประสานที่แตกต่างกันในอัตราส่วน หญ้าต่อแป้งมันส าปะหลัง 90:10, 80:20, 70:30, และ 60:40 ร้อยละโดยน ้าหนัก ซึ่งจะแสดงผลการวิเคราะห์ความหนาแน่ดังตาราง 27

100

Garis besar

Dokumen terkait