• Tidak ada hasil yang ditemukan

การต้านทานการแตกร่วนของเชื้อเพลิง briquettes ก าลังอัด 3 MPa

121 3) ความต้านทานแรงกด (Compressive resistance) ของก้อนเชื้อเพลิง

การทดสอบการรับแรงกดเป็นการจ าลองความทนทานระหว่างกาขนส่งและการ จัดเก็บ ซึ่งการทดสอบทางสถิติ แสดงให้เห็นว่า ขนาดรูปทรง ก าลังอัด และอัตราส่วนตัวประสานมี

ความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญกับการรับแรงกด ในขณะที่ชนิดของหญ้าไม่มีความแต่งต่างอย่างมี

นัยส าคัญกับการรับแรงกด โดยตาราง 31 จะแสดงให้เห็นถึงคุณสมบัติความคงทนของเชื้อเพลิง อัดเม็ดและเชื้อเพลิงอัดก้อนจากหญ้าหลายฤดูทั้ง 3 ชนิด จากการศึกษาพบว่า การรับแรงกดของ เชื้อเพลิงที่มีตัวประสานที่ร้อยละ 10 โดยน ้าหนักมีสามารถรับแรงกดได้ต ่าที่สุด โดยเชื้อเพลิง pellets สามารถรับแรงกดได้เพียง 0.11-0.13 N และเชื้อเพลิง briquettes สามารถรับแรงกดได้เพียง 0.22- 0.58 N (ตาราง 31) แสดงว่าเชื้อเพลิงนั้นไม่มีความสามารถในการต้านทานแรงกด ซึ่งจะท าให้

เชื้อเพลิงเกิดการแตกเสียหายง่าย ไม่คงทนต่อการขนส่ง ในขณะที่การเพิ่มตัวประสานเป็นร้อยละ 40 โดยน ้านั้นนั้นท าให้เชื้อเพลิงมีความหนาแน่นมากขึ้น สามารถรับแรงกดได้มากขึ้น โดยเชื้อเพลิง pellets สามารถรับแรงกดได้เพียง 0.37-0.38 N และเชื้อเพลิง briquettes สามารถรับแรงกดได้

เพียง 3.26-5.28 N (ตาราง 31)

เชื้อเพลิง pellets จากการทดสอบแรงกด จะเห็นได้ว่า อัตราส่วนของตัวประสาน และหญ้าหลายฤดูมีความส าคัญต่อการพิจารณาการรับแรงกดของก้อนเชื้อเพลิง โดยเชื้อเพลิงอัดเม็ด สามรถรับแรงกดได้สูงที่สุดอยู่ที่อัตราส่วน 60:40 คือระหว่างช่วง 0.37-0.38 N โดยหญ้าที่รับแรงกด ได้สูงที่สุดคือ หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 (Pennisetum purpureum x P. glaucum Pakchong 1;

PC) (0.38 N) (ตาราง 31) รองลงมาคือ หญ้าอะตราตัม (Paspalum atratum; PA) และหญ้ากินนี

มอมบาซ่า (Panicum maximum cv. Mombaza; MB) (0.37N) (ตาราง 27) ซึ่งมีความแตกต่างกัน ร้อยละ 2.63 และเมื่อพิจารณาอัตราส่วนรองลงมา คือ 70:30 80:20 และ 90:10 จะเห็นได้ว่า เชื้อเพลิงอัดเม็ดจากหญ้าทั้งสามชนิดจะมีการรับแรงกดได้น้อยลงตามล าดับ (ตาราง 31) โดยแสดงให้

เห็นว่าการเพิ่มปริมาณตัวประสานเพิ่มขึ้นส่งผลให้เชื้อเพลิงยึดเกาะกันแน่นขึ้นจะสามารถรับแรงกดได้

มากขึ้นด้วย ซึ่งมีแนวโน้มเดียวกันกับความหนาแน่นของเชื้อเพลิง

เชื้อเพลิง briquettes จากการศึกษาพบว่า เชื้อเพลิงที่สามารถรับแรงกดได้สูงที่สุด อยู่ที่อัตราส่วน อัตราส่วน 60:40 ซึ่ง เชื้อเพลิงที่รับแรงกดในอัตราส่วนนี้คือ ก าลังอัด 2 MPa มีการรับ แรงกดได้ในระหว่างช่วง 3.99-5.28 N โดยหญ้าที่รับแรงกดได้สูงที่สุดคือ หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 (Pennisetum purpureum x P. glaucum Pakchong 1; PC) (5.28 N) (ตาราง 31) รองลงมาคือ หญ้าอะตราตัม (Paspalum atratum; PA) และหญ้ากินนีมอมบาซ่า (Panicum maximum cv.

Mombaza; MB) (4.84 และ 3.99 N ตามล าดับ) (ตาราง 31)

122 ตาราง 31 คุณสมบัติการรับแรงกด (Compressive resistance) ของเชื้อเพลิงอัดแข็ง

ชนิด อัตราส่วน การรับแรงกด (N)

P B-1 B-2 B-3

MB

60:40 0.37±0.00 4.22±0.00 3.99±0.00 N/A 70:30 0.33±0.00 2.84±0.01a,b,c 2.70±0.00 3.43±0.00 80:20 0.26±0.00 1.61±0.00 1.98±0.00 1.26±0.00 90:10 0.14±0.00 0.31±0.01 a,b,c 0.46±0.00 0.58±0.00

100:0 N/A N/A N/A N/A

PA

60:40 0.37±0.00 3.26±0.01 a,b,c 4.84±0.00 N/A 70:30 0.35±0.00 2.53±0.01 a,b,c 2.35±0.00 3.55±0.00 80:20 0.26±0.00 0.95±0.00 1.59±0.00 1.58±0.00 90:10 0.11±0.00 0.18±0.00 0.50±0.00 0.35±0.00

100:0 N/A N/A N/A N/A

PC

60:40 0.38±0.00 3.77±0.00 5.28±0.01 a,b,c N/A 70:30 0.34±0.00 2.09±0.00 2.26±0.00 3.53±0.00 80:20 0.25±0.00 1.12±0.00 1.03±0.01 a,b,c 1.53±0.00 90:10 0.13±0.00 0.22±0.00 0.22±0.01 a,b,c 0.53±0.00

100:0 N/A N/A N/A N/A

หมายเหตุ: N/A คือ not applicable (ไม่สามารถขึ้นรูปเชื้อเพลิงได้)

a หมายถึง อัตราส่วนของเชื้อเพลิงท าให้การรับแรงกดของเชื้อเพลิงมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ 0.05 (ANOVA)

b หมายถึง รูปทรงของเชื้อเพลิงท าให้การรับแรงกดของเชื้อเพลิงมีความแตกต่างกันอย่าง มีนัยส าคัญที่ระดับ 0.05 (T-test) โดยการวิเคราะห์เปรียบเทียบเป็นคู่ คือ P กับ B-1, P กับ B-2 และ P กับ B-3

c หมายถึง ก าลังอัดของหญ้าหลายฤดูท าให้การรับแรงกดของเชื้อเพลิงมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ 0.05 (ANOVA)

123 จากการศึกษาพบว่า เชื้อเพลิงอัดแข็งที่อัตราส่วน 60:40 เป็นอัตราส่วนที่ดีที่สุดทั้งใน เชื้อเพลิง briquettes ที่ก าลังอัด 2 MPa และเชื้อเพลิง pellets จากภาพประกอบ 63-66 จะเห็นได้

ว่า เชื้อเพลิงอัดก้อนสามารถรับแรงกดได้มากกว่าเชื้อเพลิงอัดเม็ดของหญ้าทั้ง 3 ชนิด ซึ่งหญ้าเนเปียร์

ปากช่อง 1 (Pennisetum purpureum x P. glaucum Pakchong 1; PC) สูงที่สุด (5.28 N) ซึ่งสูง กว่าเชื้อเพลิงอัดเม็ด โดยมีความแตกต่างกับเชื้อเพลิงอัดก้อนถึง 4.9 N คิดเป็นร้อยละ 92.8 โดยหญ้า หลายฤดูทั้ง 3 ชนิดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p>0.05) ดังนั้นเมื่อพิจารณาคุณสมบัติ

ความหนาแน่นก้อนของเชื้อเพลิง พบว่า เชื้อเพลิงเพลิงอัดก้อน ในอัตราส่วนของหญ้าต่อแป้งมัน ส าปะหลังที่ 70:30 ก าลังอัด 2 MPa ของหญ้าทั้งสามชนิดมีความเหมาะสมที่ดีที่สุด

Garis besar

Dokumen terkait