• Tidak ada hasil yang ditemukan

คุณสมบัติการต้านทานการดูดซึมน ้า (Water resistance) ของเชื้อเพลิงอัดแข็ง

128

129

ภาพประกอบ 68 การต้านทานการดูดซึมน ้าของเชื้อเพลิง pellets

ภาพประกอบ 69 การต้านทานการดูดซึมน ้าของเชื้อเพลิง briquettes ก าลังอัด 1 MPa

131 ดังนั้น จากการศึกษาปัจจัยด้านตัวประสาน ก าลังอัด และรูปทรงของเชื้อเพลิงที่

ส่งผลต่อความคงทน พบว่า การเพิ่มตัวประสานร้อยละ 10 – 40 ท าให้เชื้อเพลิงมีความคงทนสูงขึ้น โดยที่เชื้อเพลิงที่มีตัวประสานร้อยละ 30 และ 40 โดยน ้าหนัก จะมีความคงทนที่มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานเชื้อเพลิงก าหนดไว้ที่ 70 เปอร์เซ็นต์ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณา ปริมาณตัวประสานทั้ง 2 ส่วนนั้น พบว่า การเพิ่มปริมาณแป้งที่แตกต่างกันในช่วงนี้ไม่ส่งผลให้ค่า ความคงทนแตกต่างกันมาก ดังนั้นหากจะต้องผลิตเชื้อเพลิงให้มีความคงทนโดยใช้แป้งเป็นตัวประสาน ก็ไม่จ าเป็นต้องใช้ปริมาณแป้งมาเกินไป และใช้ปริมาณตัวประสานที่มากขึ้นก็จะเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่าย ในการผลิตให้ที่สูงขึ้นด้วยเช่นกัน จึงไม่จ าเป็นต้องเพิ่มปริมาณตัวประสานถึง 40% ท าให้การใช้ตัว ประสานแค่ 30% ก็เพียงพอแล้ว ในส่วนของเชื้อเพลิงอัดก้อนที่ศึกษาก าลังอัดขึ้นรูปจะเห็นได้ว่าการ เพิ่มแรงอัดในการขึ้นรูปให้สูงขึ้นในอัตราส่วนเดียวกันนั้นส่งผลให้เชื้อเพลิงมีคงทนเพิ่มขึ้น แต่เมื่อ พิจารณาร่วมกับตัวประสานแล้ว พบว่าการเพิ่มก าลังอัดท าให้เชื้อเพลิงมีความคงทนเพิ่มขึ้นเพียง เล็กน้อย แต่การเพิ่มตัวประสานขึ้นนั้นท าให้คงทนเพิ่มขึ้นมากกว่า ดังนั้นหากใช้ตัวประสานในปริมาณ มากขึ้นก็ควรใช้แรงอัดในการขึ้นรูปที่ต ่า แต่ถ้าใช้ปริมาณตัวประสานที่น้อยควรใช้แรงอัดในการขึ้นรูป สูง เพื่อให้ได้เชื้อเพลิงที่มีความคงทนสูง

4.2.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าความร้อนและความหนาแน่นพลังงาน 1) ปัจจัยด้านตัวประสานของเชื้อเพลิง

1.1) ปัจจัยด้านตัวประสานของเชื้อเพลิงส่งผลต่อพลังงานความร้อน

จากการทดสอบหาค่าความร้อน (High heat value: HHV) ของเชื้อเพลิงอัดแข็ง จากหญ้าหลายฤดู ได้แก่ หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 (Pennisetum purpureum x P. glaucum (Pakchong 1); PC) และ หญ้ากินนีมอมบาซ่า (Panicum maximum (Mombaza); MB) ในอัตรา ส่วนตัวประสาน ก าลังอัด และขนาดรูปทรงของเชื้อเพลิงที่แตกต่างกัน จากการวิเคราะห์ความ แปรปรวนของค่าเฉลี่ยค่าความร้อน พบว่า ชนิด ก าลังอัด รูปทรง และตัวประสานไม่มีความแตกต่าง อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จะเห็นได้ว่า เชื้อเพลิงที่มีตัวประสาน 10 เปอร์เซ็นต์

จะให้ค่าความร้อนที่สูงที่สุด ซึ่งแสดงให้เห็นใน หญ้าอะตราตัม (Paspalum atratum; PA) คือ 16.5 MJ/kg รองลงมาคือ หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 (Pennisetum purpureum x P. glaucum (Pakchong 1); PC) และ หญ้ากินนีมอมบาซ่า (Panicum maximum (Mombaza); MB) ที่แสดง ค่าความร้อนของเชื้อเพลิงเท่ากัน คือ 16.4 MJ/kg ดังแสดงในตาราง 33

132

Garis besar

Dokumen terkait