• Tidak ada hasil yang ditemukan

การค านวณค่า IOC ของแบบสอบถาม

เรื่อง อิทธิพลของการยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการระบบบริการ การแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

วัตถุประสงค์ในการศึกษา

1. เพื่อศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ของ ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

2. เพื่อศึกษาการตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ของ ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

3. เพื่อศึกษาการตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ของ ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จ าแนกตามปัจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร์ และ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) กับการตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ

1. ดร. อธิพันธ์ วรรณสุริยะ 2. ดร. คุณากร ไวยวุฒิ

3. ผศ.ดร. หทัยกร พันธุ์งาม

ส่วนที่ 1 ค าถามเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม

ข้อ ข้อค าถาม ความคิดเห็น

ค่า IOC

1 2 3

1. เพศ -1 1 1 0.33

2. อายุ -1 1 1 0.33

3. สถานภาพสมรส -1 1 1 0.33

4. ระดับการศึกษา -1 -1 1 -0.33

5. อาชีพ -1 1 1 0.33

6. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน -1 1 1 0.33

7. สถานการณ์การตัดสินใจใช้บริการในปัจจุบัน -1 0 1 0.00 ค่า IOC = 0.188

ส่วนที่ 2 ค าถามเกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)

ข้อค าถาม ความคิดเห็น ค่า IOC

1 2 3

1. ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์

1.1 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลท าให้เกิดความสะดวกในการ เข้ารับการรักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

1 1 1 1.00

1.2 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเข้ารับ การรักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

1 1 1 1.00

1.3 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและ ศักยภาพในการรักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

1 1 1 1.00

1.4 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลเพิ่มความรวดเร็วในการ รักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

1 1 1 1.00

1.5 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยท าให้ผู้เกี่ยวข้องกับการ รักษาพยาบาลได้รับข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน

1 1 1 1.00

1.6 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยลดขั้นตอนในการ รักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

1 0 1 0.67

1.7 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยลดข้อผิดพลาดในการ รักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

1 1 1 1.00

1.8 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับ หน่วยงานอื่นได้เร็ว

1 1 1 1.00

2. ด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้เทคโนโลยี

2.1 เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลง่ายต่อการใช้งาน 1 0 1 0.67 2.2 เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลเข้าใจง่าย ไม่

ซับซ้อน

1 1 1 1.00

2.3 เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลมีขั้นตอนการท างาน ที่ชัดเจน

1 1 1 1.00

2.4 เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยให้การ รักษาพยาบาลง่ายขึ้น

1 1 1 1.00

2.5 ท่านไม่ต้องใช้ความพยายามมากในการที่จะเข้าใจการใช้งาน เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล

-1 1 1 0.33

2.6 สามารถน าเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลมา ประยุกต์ใช้กับการด าเนินชีวิตในปัจจุบัน

0 1 1 0.67

2.7 เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยให้เข้าถึงข้อมูล ได้สะดวกรวดเร็ว

0 1 1 0.67

ข้อค าถาม ความคิดเห็น ค่า IOC

1 2 3

3. ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจในการใช้งาน 3.1 ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลมีประโยชน์และ

สามารถใช้งานได้ง่าย

-1 0 1 0.00

3.2 ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลสามารถรองรับการ รักษาพยาบาลโรคต่างๆ ได้เป็นอย่างดี

1 1 0 0.67

3.3 ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลท าให้ข้อมูลที่ได้มี

ความถูกต้องแม่นย า

1 1 1 1.00

3.4 ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลท าให้เกิดความ เชื่อมั่นและความน่าเชื่อถือในการรักษาพยาบาล

1 1 1 1.00

3.5 ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลสร้างความพึงพอใจ ในการรักษาพยาบาลได้มากขึ้น

1 0 1 0.67

3.6 ท่านเห็นด้วยกับการน าบริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล มาให้บริการ

1 1 1 1.00

ค่า IOC = 0.826

ส่วนที่ 3 ค าถามเกี่ยวกับการตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)

ข้อค าถาม ความคิดเห็น ค่า IOC

1 2 3

1. ท่านทราบถึงประโยชน์ของการใช้ระบบบริการการแพทย์

ทางไกล ท าให้มีความต้องการที่จะใช้ระบบบริการการแพทย์

ทางไกลมากขึ้น

1 1 1 1.00

2. ท่านมีความตั้งใจที่จะใช้ระบบบริการการแพทย์ทางไกลอย่าง ต่อเนื่องในอนาคต

1 1 1 1.00

3. ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลจะท าให้การ รักษาพยาบาลเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด

1 0 1 0.67

4. ท่านมีความตั้งใจที่จะใช้งานระบบบริการการแพทย์ทางไกลบ่อย เท่าที่ต้องการ

1 1 1 1.00

5. ท่านจะแนะน าให้บุคคลอื่นใช้ระบบบริการการแพทย์ทางไกล 1 1 1 1.00 ค่า IOC = 0.934

Garis besar

Dokumen terkait