• Tidak ada hasil yang ditemukan

การเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) จ าแนกตามเพศ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

5. อาชีพ

4.5 ผลการทดสอบสมมติฐาน

4.5.1 การทดสอบสมมติฐานข้อ 1

4.5.1.1 การเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) จ าแนกตามเพศ

ตารางที่ 4.4 การเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) จ าแนกตามเพศ (ต่อ)

การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการ การแพทย์ทางไกล

ความ

แปรปรวน SS df MS F Sig.

1. ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ ระหว่างกลุ่ม 14.00 2 7.00 12.65 0.00*

ภายในกลุ่ม 209.76 379 0.55

รวม 223.76 381

2. ด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้ ระหว่างกลุ่ม 8.46 2 4.23 7.82 0.00*

เทคโนโลยี ภายในกลุ่ม 204.99 379 0.54

รวม 213.45 381

3. ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความ ระหว่างกลุ่ม 4.30 2 2.15 4.34 0.01*

ตั้งใจในการใช้งาน ภายในกลุ่ม 187.89 379 0.50

รวม 192.19 381

ตารางที่ 4.4 (ต่อ) การเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) จ าแนกตามเพศ

การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการ การแพทย์ทางไกล

ความ

แปรปรวน SS df MS F Sig.

4. การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการ ระหว่างกลุ่ม 8.36 2 4.18 8.59 0.00*

การแพทย์ทางไกลโดยรวม ภายในกลุ่ม 184.47 379 0.49

รวม 192.83 381

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 4.4 พบว่า ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่มีปัจจัยลักษณะทาง ประชากรศาสตร์ ด้านเพศ ที่แตกต่างกัน ส่งผลให้มีการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์

ทางไกล (Telemedicine) ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ (F-test = 12.65, Sig = 0.00) ด้านการรับรู้

ความง่ายของการใช้เทคโนโลยี (F-test = 7.82, Sig = 0.00) ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจใน การใช้งาน (F-test = 14.34, Sig = 0.01) และการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) โดยรวม (F-test = 8.59, Sig = 0.00) แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่

ระดับ .05 โดยท าการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD (ดังตารางที่ 4.5)

ตารางที่ 4.5 การเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) จ าแนกตามเพศ เชิงซ้อน

ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์

เพศ S.D. (1) (2) (3)

3.85 3.86 5.00

ชาย (1) 3.85 0.67 - -0.01 -1.15*

หญิง (2) 3.86 0.78 - -1.14*

เพศทางเลือก (3) 5.00 0.00 -

ด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้เทคโนโลยี

เพศ S.D.

(1) (2) (3) 3.71 3.79 4.64

ชาย (1) 3.71 0.72 - -0.08 -0.93*

หญิง (2) 3.79 0.75 - -0.85*

เพศทางเลือก (3) 4.64 0.50 -

ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจในการใช้งาน

เพศ S.D.

(1) (2) (3) 3.77 3.76 4.39

ชาย (1) 3.77 0.63 - 0.01 -0.62*

หญิง (2) 3.76 0.73 - -0.63*

เพศทางเลือก (3) 4.39 0.59 -

การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลโดยรวม

เพศ S.D.

(1) (2) (3) 3.77 3.80 4.68

ชาย (1) 3.77 0.64 - -0.03 -0.91*

หญิง (2) 3.80 0.72 - -0.88*

เพศทางเลือก (3) 4.68 0.32 -

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ พบว่า ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่เป็นเพศ ชายและเพศหญิง มีการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)ด้าน การรับรู้ถึงประโยชน์ น้อยกว่าประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่เป็นเพศทางเลือก

อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนคู่อื่น ๆ พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .05

ด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้เทคโนโลยี พบว่า ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ที่เป็นเพศชายและเพศหญิง มีการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้เทคโนโลยี น้อยกว่าประชาชนในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่เป็นเพศทางเลือก อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนคู่อื่น ๆ พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจในการใช้งาน พบว่า ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ที่เป็นเพศชายและเพศหญิง มีการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจในการใช้งาน น้อยกว่าประชาชนในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่เป็นเพศทางเลือก อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนคู่อื่น ๆ พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ด้านการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)โดยรวม พบว่า ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่เป็นเพศชายและเพศหญิง มีการยอมรับเทคโนโลยี

ระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) โดยรวม น้อยกว่าประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ที่เป็นเพศทางเลือก อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนคู่อื่น ๆ พบว่า ไม่มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

4.5.1.2 การเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) จ าแนกตามอายุ

ตารางที่ 4.6 การเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) จ าแนกตามอายุ

การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการ การแพทย์ทางไกล

ความ

แปรปรวน SS df MS F Sig.

1. ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ ระหว่างกลุ่ม 1.70 3 0.57 0.96 0.41 ภายในกลุ่ม 222.06 378 0.59

รวม 223.76 381

2. ด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้ ระหว่างกลุ่ม 0.86 3 0.29 0.51 0.68

เทคโนโลยี ภายในกลุ่ม 212.59 378 0.56

รวม 213.45 381

3. ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความ ระหว่างกลุ่ม 1.37 3 0.46 0.90 0.44 ตั้งใจในการใช้งาน ภายในกลุ่ม 190.82 378 0.50

รวม 192.19 381

การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการ ระหว่างกลุ่ม 1.27 3 0.42 0.83 0.48 การแพทย์ทางไกลโดยรวม ภายในกลุ่ม 191.56 378 0.51

รวม 192.83 381

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 4.6 พบว่า ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่มีปัจจัยลักษณะทาง ประชากรศาสตร์ ด้านอายุ ที่แตกต่างกัน ไม่ส่งผลให้มีการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์

ทางไกล (Telemedicine) ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ (F-test = 0.96, Sig = 0.41) ด้านการรับรู้ความ ง่ายของการใช้เทคโนโลยี (F-test = 0.51, Sig = 0.68) ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจในการ ใช้งาน (F-test = 0.90.3, Sig = 0.44) และการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) โดยรวม (F-test = 0.83,Sig = 0.48) แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

4.5.1.3 การเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล

Garis besar

Dokumen terkait