• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

5. อาชีพ

4.3 ผลการศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)

การศึกษาในครั้งนี้ ได้ท าการศึกษาถึงการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ใน 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ด้านการรับรู้ความง่ายของ การใช้เทคโนโลยี และด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจในการใช้งานโดยท าการศึกษาเฉพาะกลุ่ม ตัวอย่างที่เคยใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)กลุ่มตัวอย่างที่ยังไม่เคยใช้

บริการแต่คิดว่ามีแนวโน้มที่จะเลือกใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) และ กลุ่มตัวอย่างที่ยังไม่เคยใช้บริการแต่ทราบว่ามีบริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)ทั้งหมด 382 คน โดยมีผลการศึกษาในแต่ละด้าน ดังนี้

ตารางที่ 4.2 การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) (ต่อ)

การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล S.D. ความหมาย 1. ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์

1.1 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลท าให้เกิดความสะดวกใน การเข้ารับการรักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

3.97 0.93 เห็นด้วยมาก 1.2 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเข้า

รับการรักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

3.96 0.89 เห็นด้วยมาก 1.3 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและ

ศักยภาพในการรักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

3.77 0.87 เห็นด้วยมาก 1.4 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลเพิ่มความรวดเร็วในการ

รักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

4.03 0.91 เห็นด้วยมาก 1.5 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยท าให้ผู้เกี่ยวข้องกับ

การรักษาพยาบาลได้รับข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน

3.85 0.83 เห็นด้วยมาก 1.6 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยลดขั้นตอนในการ

รักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

3.92 0.84 เห็นด้วยมาก 1.7 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยลดข้อผิดพลาดในการ

รักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น

3.69 0.83 เห็นด้วยมาก 1.8 ระบบบริการการแพทย์ทางไกลสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับ

หน่วยงานอื่นได้เร็ว

3.92 0.85 เห็นด้วยมาก ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์โดยรวม 3.89 0.77 เห็นด้วยมาก

ตารางที่ 4.2 (ต่อ) การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)

การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล S.D. ความหมาย 2. ด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้เทคโนโลยี

2.1 เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลง่ายต่อการ ใช้งาน

3.75 0.90 เห็นด้วยมาก 2.2 เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลเข้าใจง่าย

ไม่ซับซ้อน

3.73 0.83 เห็นด้วยมาก 2.3 เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลมีขั้นตอนการ

ท างานที่ชัดเจน

3.70 0.85 เห็นด้วยมาก 2.4 เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยให้การ

รักษาพยาบาลง่ายขึ้น

3.85 0.79 เห็นด้วยมาก 2.5 สามารถน าเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลมา

ประยุกต์ใช้กับการด าเนินชีวิตในปัจจุบัน

3.88 0.81 เห็นด้วยมาก 2.6 เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลช่วยให้เข้าถึง

ข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว

3.85 0.84 เห็นด้วยมาก ด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้เทคโนโลยีโดยรวม 3.79 0.75 เห็นด้วยมาก 3. ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจในการใช้งาน

3.1 ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลมีประโยชน์และ สามารถเข้ารับบริการได้ง่าย

3.86 0.78 เห็นด้วยมาก 3.2 ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลสามารถรองรับ

การรักษาพยาบาลโรคต่างๆ ได้เป็นอย่างดี

3.74 0.79 เห็นด้วยมาก 3.3 ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลท าให้ข้อมูลที่ได้

มีความถูกต้องแม่นย า

3.71 0.80 เห็นด้วยมาก 3.4 ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลท าให้เกิดความ

เชื่อมั่นและความน่าเชื่อถือในการรักษาพยาบาล

3.71 0.78 เห็นด้วยมาก

ตารางที่ 4.2 (ต่อ) การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)

การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล S.D. ความหมาย 3.5 ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลสร้างความพึง

พอใจในการรักษาพยาบาลได้มากขึ้น

3.78 0.73 เห็นด้วยมาก 3.6 ท่านเห็นด้วยกับการน าบริการระบบบริการการแพทย์

ทางไกลมาให้บริการ

3.87 0.80 เห็นด้วยมาก ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจในการใช้งานโดยรวม 3.78 0.71 เห็นด้วยมาก การยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกลโดยรวม 3.82 0.71 เห็นด้วยมาก จากตารางที่ 4.2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีการยอมรับเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์

ทางไกล (Telemedicine) โดยรวม อยู่ในระดับเห็นด้วยมาก (x̅ = 3.82, S.D. = 0.71) โดยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็นด้วยมากที่สุดในด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ (x̅ = 3.89, S.D. = 0.77) รองลงมาคือ ด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้เทคโนโลยี (x̅ = 3.79, S.D. = 0.75) และด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจในการใช้งาน (x̅ = 3.78, S.D. = 0.71) ตามล าดับ โดยมี

ผลการศึกษาในแต่ละด้าน ดังนี้

4.3.1 ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ พบว่า ในภาพรวม ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความ คิดเห็นในระดับเห็นด้วยมาก (x̅ = 3.89, S.D. = 0.77) โดยผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นด้วย มากที่สุดในประเด็น ระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) เพิ่มความรวดเร็วใน การรักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น (x̅ = 4.03, S.D. = 0.91) รองลงมาคือ ระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ท าให้เกิดความสะดวกในการเข้ารับการรักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น (x̅ = 3.97, S.D. = 0.93) ส่วนประเด็นที่ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นด้วยน้อยที่สุด คือ ระบบบริการ การแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ช่วยลดข้อผิดพลาดในการรักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น (x̅ = 3.69, S.D. = 0.83) ตามล าดับ

4.3.2 ด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้เทคโนโลยี พบว่า ในภาพรวม ผู้ตอบ แบบสอบถามมีระดับความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยมาก (x̅ = 3.79, S.D. = 0.75) โดยผู้ตอบ แบบสอบถามมีความคิดเห็นด้วยมากที่สุดในประเด็น สามารถน าเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์

ทางไกล (Telemedicine) มาประยุกต์ใช้กับการด าเนินชีวิตในปัจจุบัน (x̅ = 3.88, S.D. = 0.81) รองลงมาคือ เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ช่วยให้การรักษาพยาบาล ง่ายขึ้น และเทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ช่วยให้เข้าถึงข้อมูลได้

สะดวกรวดเร็ว (x̅ = 3.85, S.D. = 0.84) ส่วนประเด็นที่ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นด้วยน้อย

ที่สุด คือ เทคโนโลยีระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) มีขั้นตอนการท างานที่ชัดเจน (x̅ = 3.70, S.D. = 0.85) ตามล าดับ

4.3.3 ด้านทัศนคติต่อการใช้งาน/ความตั้งใจในการใช้งาน พบว่า ในภาพรวม ผู้ตอบ แบบสอบถามมีระดับความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยมาก (x̅ = 3.78, S.D. = 0.71) โดยผู้ตอบ แบบสอบถามมีความคิดเห็นด้วยมากที่สุดในประเด็น เห็นด้วยกับการน าบริการระบบบริการ การแพทย์ทางไกล (Telemedicine) มาให้บริการ (x̅ = 3.87, S.D. = 0.80) รองลงมาคือ คิดว่า ระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) มีประโยชน์และสามารถเข้ารับบริการได้ง่าย (x̅ = 3.86, S.D. = 0.78) ส่วนประเด็นที่ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นด้วยน้อยที่สุด คือ คิดว่า ระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ท าให้ข้อมูลที่ได้มีความถูกต้องแม่นย า (x̅ = 3.71, S.D. = 0.80) และคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ท าให้เกิดความเชื่อมั่นและ ความน่าเชื่อถือในการรักษาพยาบาล (x̅ = 3.71, S.D. = 0.78) ตามล าดับ

4.4 ผลการศึกษาการตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)

การศึกษาในครั้งนี้ ได้ท าการศึกษาถึงการตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) โดยท าการศึกษาเฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่เคยใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) กลุ่มตัวอย่างที่ยังไม่เคยใช้บริการแต่คิดว่ามีแนวโน้มที่จะเลือกใช้บริการระบบ บริการการแพทย์ทางไกล(Telemedicine) และกลุ่มตัวอย่างที่ยังไม่เคยใช้บริการแต่ทราบว่ามีบริการ ระบบบริการการแพทย์ทางไกล(Telemedicine)ทั้งหมด 382 คน โดยมีผลการศึกษาดังนี้

ตารางที่ 4.3 การตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)

การตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล S.D. ความหมาย 1. ท่านทราบถึงประโยชน์ของการใช้ระบบบริการการแพทย์

ทางไกล ท าให้มีความต้องการที่จะใช้ระบบบริการการแพทย์

ทางไกลมากขึ้น

3.89 0.82 เห็นด้วยมาก

2. ท่านมีความตั้งใจที่จะใช้ระบบบริการการแพทย์ทางไกลอย่าง ต่อเนื่องในอนาคต

3.89 0.85 เห็นด้วยมาก 3. ท่านคิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลจะท าให้การ

รักษาพยาบาลเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด

3.76 0.79 เห็นด้วยมาก

ตารางที่ 4.3 (ต่อ) การตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)

การตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกล S.D. ความหมาย 4. ท่านมีความตั้งใจที่จะใช้งานระบบบริการการแพทย์ทางไกล

บ่อยเท่าที่ต้องการ

3.82 0.80 เห็นด้วยมาก 5. ท่านจะแนะน าให้บุคคลอื่นใช้ระบบบริการการแพทย์ทางไกล 3.85 0.82 เห็นด้วยมาก การตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์ทางไกลโดยรวม 3.84 0.76 เห็นด้วยมาก

จากตารางที่ 4.3 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีการตัดสินใจใช้บริการระบบบริการการแพทย์

ทางไกล (Telemedicine) โดยรวม อยู่ในระดับเห็นด้วยมาก (x̅ = 3.84, S.D. = 0.76) โดยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นด้วยมากที่สุดในประเด็น ทราบถึงประโยชน์ของการใช้ระบบบริการ การแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ท าให้มีความต้องการที่จะใช้ระบบบริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) มากขึ้น (x̅ = 3.89, S.D. = 0.82) และมีความตั้งใจที่จะใช้ระบบบริการการแพทย์

ทางไกล (Telemedicine) อย่างต่อเนื่องในอนาคต (x̅ = 3.89, S.D. = 0.85) รองลงมาคือ จะแนะน า ให้บุคคลอื่นใช้ระบบบริการการแพทย์ทางไกล (x̅ = 3.85, S.D. = 0.82) ส่วนประเด็นที่ผู้ตอบ แบบสอบถามมีความคิดเห็นด้วยน้อยที่สุด คือ คิดว่าระบบบริการการแพทย์ทางไกลจะท าให้

การรักษาพยาบาลเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด (x̅ = 3.76, S.D. = 0.79) ตามล าดับ

Garis besar

Dokumen terkait