• Tidak ada hasil yang ditemukan

วิธีด าเนินการวิจัย

6. การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ

6.1 น าแบบสอบถามที่แก้ไขตามผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะไปทดลองใช้ (Try-out) กับ ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร จ านวน 30 คนแรกที่ได้รับตอบ กลับ

6.2 หาค่าอ านาจจ าแนกของแบบสอบถามเป็นรายข้อ (Discriminant Power) โดย ใช้เทคนิคItem - total Correlation ซึ่งนวัตกรรมการบริหารภาษี ได้ค่าอ านาจจ าแนก (r) อยู่

ระหว่าง 0.496 – 0.842 (ตาราง 43 ภาคผนวก ข) และความส าเร็จขององค์กร ได้ค่าอ านาจจ าแนก (r) อยู่ระหว่าง 0.537 – 0.919 ซึ่งสอดคล้องกับ Nunnally และ Bernstein (1994) ได้น าเสนอว่า การทดสอบค่าอ านาจจ าแนกเกินกว่า 0.40 เป็นค่าที่ยอมรับได้

6.3 การหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability test) โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์

แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) ซึ่งนวัตกรรมการบริหารภาษี มีค่า สัมประสิทธิ์แอลฟาอยู่ระหว่าง 0.755 – 0.894 (ตาราง 43 ภาคผนวก ข) และความส าเร็จขององค์กร

70 มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาอยู่ระหว่าง 0.814 – 0.914 (ตาราง 43 ภาคผนวก ข) ซึ่งสอดคล้องกับ Hair และคณะ (2006) ได้น าเสนอว่า ความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ตามทฤษฎีของครอนบาค มีค่าไม่ควร ต่ ากว่า 0.7 เป็นค่าที่ยอมรับได้

7. น าผลที่ได้รับจากการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามเสนออาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์อีกครั้ง เพื่อปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน า แล้วจัดท าเป็นแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพื่อ น าไปใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างต่อไป

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ด าเนินการตามขั้นตอนและวิธีการดังนี้

1. ด าเนินการจัดท าแบบสอบถามตามจ านวนเท่ากับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย 2. ขอหนังสือราชการจากคณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามโดย แนบพร้อมกับแบบสอบถามส่งไปยังกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนา

อสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานครเพื่อขอความอนุเคราะห์ และความร่วมมือในการตอบ แบบสอบถาม

3. ด าเนินการจัดส่งแบบสอบถามด้วยตนเองไปให้กับกลุ่มตัวอย่าง โดยเริ่มตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2559 จ านวน 320 ฉบับ เพื่อขอความอนุเคราะห์ และขอความร่วมมือในการตอบ แบบสอบถาม โดยก าหนดระยะเวลาให้ตอบกลับ ภายใน 15 วัน หลังจากได้รับแบบสอบถาม

4. เมื่อครบก าหนดตามระยะเวลา 15 วัน ได้รับแบบสอบถามตอบกลับ จ านวน 43 ฉบับ และเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ได้รับแบบสอบถามตอบกลับเพิ่มอีก จ านวน 77 ฉบับ รวมจ านวนแบบสอบถามที่ได้รับตอบกลับทั้งสิ้น จ านวน 120 ฉบับ รวมระยะเวลาในการจัดเก็บ รวบรวมข้อมูล 60 วัน ซึ่งมีจ านวนแบบสอบถามที่ไม่สมบูรณ์ทั้งสิ้น จ านวน 14 ฉบับ ดังนั้น แบบสอบถามที่น าไปวิเคราะห์ข้อมูลมีจ านวน 106 ฉบับ

5. ท าการตรวจสอบความสมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถามที่ได้รับตอบ จ านวน 106 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 37.50 เมื่อเปรียบเทียบกับแบบสอบถามที่ส่งไปยังกลุ่มตัวอย่าง (ตาราง 2) ซึ่ง สอดคล้องกับ Aaker และคณะ (2007) ได้เสนอว่าการส่งแบบสอบถาม ต้องมีอัตราตอบกลับเกินร้อย ละ 20 จึงจะถือว่ายอมรับได้

6. ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์มาวิเคราะห์ข้อมูล ต่อไป

71 การจัดกระท าข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ส าเร็จรูป โดยแบ่งการวิเคราะห์ข้อมูลได้ ดังนี้

ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนา

อสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการประมวลผลทางหลักสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) โดยน าข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ ประกอบด้วย ความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage)

ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการประมวลผลทางสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) โดยน าข้อมูลที่รวบรวมได้มา วิเคราะห์หาค่าทางสถิติ ประกอบด้วย ความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage)

ตอนที่ 3 และ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับนวัตกรรมการบริหารภาษีและ ความส าเร็จขององค์กรของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร โดยวิธีการประมวลผล ตามหลักสถิติเชิงพรรณนา ซึ่งประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยน าเสนอข้อมูลในรูปแบบตารางควบคู่กับการบรรยาย และสรุปผลการด าเนินการวิจัย โดยก าหนดการให้คะแนนค าตอบของแบบสอบถาม ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2553: 120-121)

ระดับความคิดเห็นมากที่สุด ก าหนดให้ 5 คะแนน ระดับความคิดเห็นมาก ก าหนดให้ 4 คะแนน ระดับความคิดเห็นปานกลาง ก าหนดให้ 3 คะแนน ระดับความคิดเห็นน้อย ก าหนดให้ 2 คะแนน ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด ก าหนดให้ 1 คะแนน

จากนั้นวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยคะแนนของแบบสอบถามโดยใช้เกณฑ์ในการแปลความหมาย ของค่าเฉลี่ย ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2553: 121)

ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อยที่สุด

ตอนที่ 5 และ 6 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับนวัตกรรมการบริหารภาษีและ ความส าเร็จขององค์กรของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร โดยใช้การทดสอบความ แตกต่าง ระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ด้วยสถิติทดสอบ t-test (Independent Sample

72 t-test) และการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม โดยการ ทดสอบการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนพหุคูณ (Multivariate Analysis of Variance: MANOVA)

ตอนที่ 7 การทดสอบความสัมพันธ์และผลกระทบของนวัตกรรมการบริหารภาษีกับ ความส าเร็จขององค์กรของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร โดยใช้การวิเคราะห์

สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ (Multiple Correlation Analysis) การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. สถิติพื้นฐาน ได้แก่

1.1 ความถี่ (Frequency) 1.2 ร้อยละ (Percentage) 1.3 ค่าเฉลี่ย (Mean)

1.4 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ

2.1 การหาค่าอ านาจจ าแนกของแบบสอบถามเป็นรายข้อ (Discriminant Power) โดย ใช้เทคนิค Item-total Correlation

2.2 การทดสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (Reliability Test) โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์

แอลฟา (Alpha – Coefficient Method) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach)

3. สถิติที่ใช้ในการทดสอบคุณลักษณะของตัวแปร คือการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรอิสระ (Multicollinearity Test) โดยใช้ Variance Inflation Factors (VIFs)

4. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่

4.1 t-tests

4.2 F-test (ANOVA และ MANOVA)

4.3 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ (Multiple Correlation Analysis) 4.4 การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) 4.5 การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)

73