• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตาราง 4 ต่อ)

4. ด้านการเสริมสร้าง ความสามารถในการ

6.4 จ านวนพนักงานทั้งหมด

ตาราง 29 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความส าเร็จขององค์กรโดยรวมของผู้บริหารฝ่าย บัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร ที่มีจ านวนพนักงานทั้งหมด แตกต่างกัน (ANOVA)

ความส าเร็จขององค์กร แหล่งของ

ความแปรปรวน SS df MS F p-value

โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม

รวม

1.666 20.516 22.182

3 102 105

0.55 0.201

2.760* 0.046

* มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 29 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร ที่

มีจ านวนพนักงานทั้งหมดแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จขององค์กรโดยรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงได้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่

100 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

ในกรุงเทพมหานคร ที่มีจ านวนพนักงานทั้งหมด 61 – 90 คน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมี

ความส าเร็จขององค์กรโดยรวม มากกว่า จ านวนพนักงานทั้งหมด มากกว่า 90 คน และน้อยกว่า 30 คน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (ตาราง 51 ภาคผนวก ค)

ตาราง 30 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความส าเร็จขององค์กรเป็นรายด้าน ของผู้บริหาร ฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร ที่มีจ านวนพนักงานทั้งหมด แตกต่างกัน (MANOVA)

สถิติทดสอบ ความส าเร็จของ องค์กร

Hypothesis df

Error

df F p-value

Wilk’s Lambda 4 ด้าน 12.000 262.221 3.086* <0.0001

* มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 30 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร ที่มีจ านวนพนักงานทั้งหมดแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จขององค์กร เป็นรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ผู้วิจัยได้ท าการทดสอบ Univariate ซึ่งผลการทดสอบ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร ที่มีจ านวนพนักงานทั้งหมดแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วย เกี่ยวกับการมีความส าเร็จขององค์กร ด้านการประหยัดภาษีสูงสุด และด้านผลตอบแทนสูงสุดแก่ผู้ถือ หุ้น แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.013 (ตาราง 52 ภาคผนวก ค) จึงได้เปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่

ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

ในกรุงเทพมหานคร ที่มีจ านวนพนักงานทั้งหมด 61 – 90 คน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมี

ความส าเร็จขององค์กร ด้านการประหยัดภาษีสูงสุด มากกว่า จ านวนพนักงานทั้งหมด 30 - 60 คน และมากกว่า 90 คน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.013 (ตาราง 53 ภาคผนวก ค)

ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

ในกรุงเทพมหานคร ที่มีจ านวนพนักงานทั้งหมด 61 – 90 คน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมี

ความส าเร็จขององค์กร ด้านผลตอบแทนสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น มากกว่า จ านวนพนักงานทั้งหมด น้อยกว่า 30 คนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.013 (ตาราง 54 ภาคผนวก ค)

101 6.5 รายได้เฉลี่ยต่อปี

ตาราง 31 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความส าเร็จขององค์กรโดยรวมของผู้บริหารฝ่าย บัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร ที่มีรายได้เฉลี่ยต่อปี แตกต่างกัน (ANOVA)

ความส าเร็จขององค์กร แหล่งของ

ความแปรปรวน SS df MS F p-value

โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม

รวม

1.404 20.778 22.182

3 102 105

0.468 0.204

2.89 0.082

จากตาราง 31 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร ที่มีรายได้เฉลี่ยต่อปีแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จขององค์กรโดยรวม ไม่แตกต่างกัน (p > 0.05)

ตาราง 32 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับความส าเร็จขององค์กรเป็นรายด้าน ของผู้บริหาร ฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร ที่มีรายได้เฉลี่ยต่อปี แตกต่างกัน (MANOVA)

สถิติทดสอบ ความส าเร็จของ องค์กร

Hypothesis df

Error

df F p-value

Wilk’s Lambda 4 ด้าน 12.000 262.221 1.552 0.106 จากตาราง 32 พบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร ที่มีรายได้เฉลี่ยต่อปีแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีความส าเร็จขององค์กรเป็นรายด้าน ทุกด้าน ได้แก่ ด้านการประหยัดภาษีสูงสุด ด้านผลตอบแทนสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น ด้านการด าเนินงาน อย่างยั่งยืน และด้านการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน ไม่แตกต่างกัน (p > 0.05)

102 ตอนที่ 7 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย

การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ และการสร้างสมการพยากรณ์ในการทดสอบความสัมพันธ์และ ผลกระทบของนวัตกรรมการบริหารภาษีที่มีต่อความส าเร็จขององค์กรของธุรกิจพัฒนา

อสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยท าการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์การถดถอยอย่าง ง่าย การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ และการสร้างสมการพยากรณ์ ตามที่ตั้งสมมติฐาน ดังนี้

H1 : นวัตกรรมการบริหารภาษี ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มีความสัมพันธ์และผลกระทบกับความส าเร็จขององค์กรของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

ในกรุงเทพมหานคร

H2 : :นวัตกรรมการบริหารภาษี ด้านความถูกต้องและครบถ้วน มีความสัมพันธ์ และ ผลกระทบกับความส าเร็จขององค์กรของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร

H3 : นวัตกรรมการบริหารภาษี ด้านการขจัดปัญหาที่อาจเกิดขึ้น มีความสัมพันธ์ และ ผลกระทบกับความส าเร็จขององค์กรของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร

H4 : นวัตกรรมการบริหารภาษี ด้านการใช้สิทธิประโยชน์สูงสุดทางภาษี มีความสัมพันธ์

และผลกระทบกับความส าเร็จขององค์กรของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร

103 ตาราง 33 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของนวัตกรรมการบริหารภาษีกับความส าเร็จขององค์กรโดยรวม ของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร

ตัวแปร TOS CR AC PE MB VIFs

x¯ 3.764 4.436 4.568 4.342 4.373

S.D. 0.460 0.492 0.461 0.463 0.529

TOS - 0.501* 0.533* 0.548* 0.483*

CR - - 0.676* 0.541* 0.529* 2.038

AC - - - 0.567* 0.524* 2.089

PE - - - - 0.653* 2.024

MB - - - 1.915

* มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 33 พบว่า ตัวแปรอิสระแต่ละด้านมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งอาจเกิดเป็นปัญหา Multicollinearity ดังนั้นผู้วิจัยจึงท าการทดสอบ Multicollinearity โดยใช้ค่า VIFs ปรากฏว่า ค่า VIFs ของตัวแปรอิสระ นวัตกรรมการบริหารภาษี มีค่าตั้งแต่ 1.915 – 2.089 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 10 แสดงว่า ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์กันแต่ไม่มีนัยส าคัญ (Black, 2006: 585)

เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระนวัตกรรมการบริหารภาษี

ในแต่ละด้านพบว่า มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม ความส าเร็จขององค์กรโดยรวม (TOS) อย่างมี

นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับนัยส าคัญ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง 0.483 - 0.548 จากนั้น ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณและสร้างสมการพยากรณ์ความส าเร็จ ขององค์กรโดยรวม (TOS) ได้ดังนี้

TOS = 0.557 + 0.134CR + 0.224AC + 0.267PE + 0.099MB

ซึ่งสมการที่ได้นี้สามารถพยากรณ์ความส าเร็จขององค์กรโดยรวม (TOS) ได้อย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 (F = 16.401 ; p < 0.0001) และค่าสัมประสิทธิ์ของการพยากรณ์ปรับปรุง (Adj R2) เท่ากับ 0.370 (ตาราง 34) เมื่อน าไปทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ นวัตกรรม การบริหารภาษีแต่ละด้านกับตัวแปรตาม ความส าเร็จขององค์กรโดยรวม (TOS) ปรากฏผลดังตาราง 34

104 ตาราง 34 การทดสอบความสัมพันธ์ของสัมประสิทธิ์การถดถอยกับความส าเร็จขององค์กรโดยรวม ของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร

นวัตกรรมการบริหารภาษี

ความส าเร็จขององค์กรโดยรวม

t p-value

สัมประสิทธิ์

การถดถอย

ความคลาดเคลื่อน มาตรฐาน

ค่าคงที่ (a) 0.557 0.399 1.396 0.166

ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบและ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง (CR)

0.134 0.130 1.293 0.199

ด้านความถูกต้องและครบถ้วน (AC) 0.224 0.112 2.005* 0.048 ด้านการขจัดปัญหาที่อาจเกิดขึ้น (PE) 0.267 0.109 2.441* 0.016 ด้านการใช้สิทธิประโยชน์สูงสุดทางภาษี

(MB)

0.099 0.093 1.063 0.291

F = 16.401 p < 0.0001 Adj R2 = 0.370

* มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 34 พบว่า นวัตกรรมการบริหารภาษี ด้านความถูกต้องและครบถ้วน (AC) และ ด้านการขจัดปัญหาที่อาจเกิดขึ้น (PE) มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกต่อความส าเร็จของ องค์กรโดยรวม (TOS) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที่ 2 และ3 ส าหรับนวัตกรรมการบริหารภาษี ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (CR) และ ด้านการใช้สิทธิประโยชน์สูงสุดทางภาษี (MB) ไม่มีผลกระทบต่อความส าเร็จขององค์กรโดยรวม (TOS)

เมื่อน านวัตกรรมการบริหารภาษี ด้านความถูกต้องและครบถ้วน (AC) และด้านการขจัด ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น (PE) ไปสร้างสมการพยากรณ์ของความส าเร็จขององค์กรโดยรวม (TOS) ได้ค่าสัมประสิทธิ์ของการพยากรณ์ปรับปรุง (Adj R2) เท่ากับ 0.361 (ตาราง 55 ภาคผนวก ง) โดยได้สมการพยากรณ์ ดังนี้

TOS = 0.710 + 0.327AC + 0.359PE

105 ตาราง 35 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของนวัตกรรมการบริหารภาษีกับความส าเร็จขององค์กร ด้านการ ประหยัดภาษีสูงสุดของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร

ตัวแปร MIB CR AC PE MB VIFs

x¯ 3.691 4.436 4.568 4.342 4.373

S.D. 0.602 0.492 0.461 0.463 0.529

MIB 0.350* 0.339* 0.323* 0.264*

CR - - 0.676* 0.541* 0.529* 2.038

AC - - - 0.567* 0.524* 2.089

PE - - - - 0.653* 2.024

MB - - - 1.915

* มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 35 พบว่า ตัวแปรอิสระแต่ละด้านมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งอาจเกิดเป็นปัญหา Multicollinearity ดังนั้นผู้วิจัยจึงท าการทดสอบ Multicollinearity โดยใช้ค่า VIFs ปรากฏว่า ค่า VIFs ของตัวแปรอิสระ นวัตกรรมการบริหารภาษี มีค่าตั้งแต่ 1.915 – 2.089 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 10 แสดงว่า ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์กันแต่ไม่มีนัยส าคัญ (Black, 2006: 585)

เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระนวัตกรรมการบริหารภาษี

ในแต่ละด้านพบว่า มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม ความส าเร็จขององค์กร ด้านการประหยัดภาษี

สูงสุด (MIB) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับนัยส าคัญ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง 0.264 – 0.350 จากนั้นผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณและสร้างสมการพยากรณ์

ความส าเร็จขององค์กร ด้านการประหยัดภาษีสูงสุด (MIB) ได้ดังนี้

MIB = 0.936 – 0.046CR + 0.204AC + 0.369PE + 0.098MB

ซึ่งสมการที่ได้นี้สามารถพยากรณ์ความส าเร็จขององค์กร ด้านการประหยัดภาษีสูงสุด (MIB) ได้อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (F = 5.800 ; p < 0.0001) และค่าสัมประสิทธิ์ของ การพยากรณ์ปรับปรุง (Adj R2) เท่ากับ 0.155 (ตาราง 36) เมื่อน าไปทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรอิสระนวัตกรรมการบริหารภาษีแต่ละด้านกับตัวแปรตามความส าเร็จขององค์กร ด้านการ ประหยัดภาษีสูงสุด (MIB) ปรากฏผลดังตาราง 36