• Tidak ada hasil yang ditemukan

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล 3.6 สถิติที่ใช้ในการวิจัย

3.1 การก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

3.1.1 ประชากร

ประชากรที่จะท าการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท างานเพื่อเพิ่มความ ผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร คือ บุคลากร ที่ปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งเจ้าหน้าที่และอาจารย์ประจ าของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขต กรุงเทพมหานคร จาก 12 สถาบันการศึกษา จ านวนทั้งสิ ้น 8,841 คน

ตารางที่ 1 แสดงจ านวนประชากรของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร จ าแนกตามประเภทผู้รับใบอนุญาต

ล าดับ รายการ จ านวน (คน)

ประเภทบุคคลธรรมดา 1,982

1 มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น 212

2 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 1,235

3 มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต 535

(ตาราง 1) ต่อ

ล าดับ รายการ จ านวน (คน)

ประเภทนิติบุคคล 3,796

4 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 866

5 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 678

6 มหาวิทยาลัยสยาม 540

7 มหาวิทยาลัยศรีปทุม 760

8 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 952

ประเภทมูลนิธิ 3,063

9 มหาวิทาลัยกรุงเทพ 1,162

10 มหาวิทยาลัยเกริก 157

11 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 1,121

12 มหาวิทยาลัยเอเซียอาคเนย์ 623

รวม 8,841

ที่มา : ส่วนพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ส านักประสานและส่งเสริมกิจการอุดมศึกษา 3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง

สามารถก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากจ านวนประชากรทั้งหมดได้ด้วยวิธีของ Taro Yamane (1967 อ้างถึงในบุญธรรม, 2535) โดยก าหนดค่าความเชื่อมั่นที่ 95% และยอมให้มี

ความคาดเคลื่อนจากจ านวนประชากรทั้งหมด 0.05 ดังนี ้ จากสูตร n = N

1 + Ne 2

โดยที่ n = จ านวนขนาดตัวอย่าง

N = จ านวนรวมทั้งหมดของประชากรที่ใช้ในการศึกษา e = ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้

ในงานวิจัยนี ้ก าหนดไว้เท่ากับ 0.05

แทนค่า n = 8,841 1 + (8,841)(0.05)2 n = 383 คน

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี ้ได้มาจากวิธีสุ่มแบบแบ่งชั้นชนิดสัดส่วน (Proportional Stratified Sampling) โดยแบ่งตามประเภทผู้รับใบอนุญาต ซึ่งสามารถแสดงกลุ่ม ตัวอย่างที่จะศึกษาเป็นขั้นตอนดังนี ้

1. หาขนาดของกลุ่มตัวอย่างได้ 383 คน

2. จ าแนกประชากรออกเป็นกลุ่มตามประเภทผู้รับใบอนุญาตได้ 3 กลุ่ม คือประเภท บุคคลธรรมดา ประเภทนิติบุคคล และประเภทมูลนิธิ

3. แบ่งจ านวนขนาดของกลุ่มตัวอย่างออกตามจ านวนกลุ่มของประชากรโดยใช้สัดส่วน ของประชากรแต่ละกลุ่มเป็นตัวแบ่ง ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 แสดงจ านวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร จ าแนกตามประเภทผู้รับใบอนุญาต

ล าดับ รายการ ประชากร ตัวอย่าง

1 ประเภทบุคคลธรรมดา

ใช้ตัวแทนจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

1,982 86

2 ประเภทนิติบุคคล

ใช้ตัวแทนจากมหาวิทยาลัยศรีปทุม

3,796 164

3 ประเภทมูลนิธิ

ใช้ตัวแทนจากมหาวิทยาลัยเกริก

3,063 133

รวม 8,841 383

วิธีการสุ่มตัวอย่าง เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling)

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี ้จะใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นโดย อาศัยแนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการท างานและความผูกพันต่อ องค์การ โดยดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมกับกรอบแนวความคิดในการท าวิจัย โดยแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี ้

ส่วนที่ 1 ข้อค าถามเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ข้อค าถามเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการท างาน

ส่วนที่ 3 ข้อค าถามเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์การ ส่วนที่ 4 ภาพรวมของคุณภาพชีวิตในการท างาน

3.3 การสร้างเครื่องมือและศึกษาคุณภาพของเครื่องมือ

1. ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตในการท างานและความ ผูกพันต่อองค์การ

2. น าข้อมูลที่ได้จากข้อ 1 มาก าหนดเป็นกรอบแนวความคิด ตามลักษณะตัวแปรที่จะ ศึกษา

3. สร้างข้อค าถามให้อยู่ภายใต้กรอบแนวความคิดและครอบคลุมวัตถุประสงค์ของการ วิจัยซึ่งใช้ค าถามแบบปิด Close Question และแบบเปิด Open Question โดยมีขั้นตอน ดังต่อไปนี ้

ขั้นที่ 1 การก าหนดวัตถุประสงค์

การสร้างแบบสอบถามมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลของ คุณภาพชีวิตในการท างานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาไทยในเขต กรุงเทพมหานคร

ขั้นที่ 2 การนิยามปฏิบัติการส าหรับตัวแปรหลัก ตัวแปรในการศึกษาวิจัยครั้งนี ้ ประกอบด้วย

1.1 ค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ หมายถึง ค่าตอบแทนและผลประโยชน์ที่

บุคลากรได้รับจากการปฏิบัติงานเพียงพอในการด ารงชีวิต และมีความยุติธรรมเมื่อเปรียบเทียบ กับลักษณะงานและการปฏิบัติงาน วัดเป็นคะแนนโดยการให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด าเนินการ ประเมินในแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

1.2 สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง การที่บุคลากรผู้ปฏิบัติ

งานได้อยู่ในสภาพแวดล้อมของการท างานที่ดี องค์การมีการก าหนดมาตรฐานเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งรวมไปถึงเรื่องการควบคุมเกี่ยวกับเรื่องของเสียง กลิ่น การ รบกวนทางสายตา วัดเป็นคะแนนโดยการให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด าเนินการประเมินใน แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

1.3 การพัฒนาความสามารถของบุคคล หมายถึง การที่องค์การให้โอกาสแก่บุคลากร ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้ฝีมือพัฒนาทักษะและความรู้ของตนเองซึ่งจะส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานได้มีความรู้สึก ว่าตนมีค่า และมีความรู้สึกท้าทายจากการท างานของตนเอง วัดเป็นคะแนนโดยการให้บุคลากร

ผู้ปฏิบัติงานด าเนินการประเมินในแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

1.4 ความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน หมายถึง ความรู้สึกเชื่อมั่นที่มีต่อความ มั่นคงในหน้าที่การงาน และโอกาสที่จะได้รับความก้าวหน้าในการท างาน ทั้งในเรื่องของรายได้

และต าแหน่งงาน วัดเป็นคะแนนโดยการให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด าเนินการประเมินใน แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

1.5 การบูรณาการด้านสังคมหรือการท างานร่วมกัน หมายถึง การที่ผู้ปฏิบัติงานรู้สึก ว่ามีคุณค่าได้รับการยอมรับและร่วมมือจากกลุ่มเพื่อนร่วมงาน รู้สึกว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม เพื่อนร่วมงาน มีการเปิดเผยตนเอง มีบรรยากาศในการท างานที่ดี มีลักษณะการท างานที่

ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน วัดเป็นคะแนนโดยการให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด าเนินการประเมินใน แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

1.6 สิทธิของพนักงาน หรือธรรมนูญในองค์การ หมายถึง การใช้หลักธรรมนูญใน การปฏิบัติงานการเคารพในสิทธิส่วนบุคคล ความเสมอภาค การมีอิสระในการแสดงความ คิดเห็นและการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน วัดเป็นคะแนนโดยการให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ด าเนินการประเมินในแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

1.7 ความสมดุลระหว่างชีวิตการท างานกับชีวิตส่วนตัว หมายถึง การแบ่งเวลาให้

เหมาะสมในการด ารงชีวิต เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เวลาส่วนตัว เวลาส าหรับครอบครัว เวลา พักผ่อน และเวลาที่ให้กับสังคม วัดเป็นคะแนนโดยการให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด าเนินการ ประเมินในแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

1.8 การเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับสังคม หมายถึง ความรู้สึกว่างานและองค์การ ที่ปฏิบัติงานอยู่นั้น มีความส านึกรับผิดชอบต่อสังคม เป็นประโยชน์ต่อสังคม ความภาคภูมิใจใน งานและองค์การของตน ความมีชื่อเสียงและการได้รับการยอมรับจากสังคม วัดเป็นคะแนนโดย การให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด าเนินการประเมินในแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

1.9 ความเชื่อมั่นและยอมรับในเป้าหมาย และค่านิยมขององค์การ หมายถึง ความรู้สึกเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับเป้าหมาย และค่านิยมขององค์การที่ก าหนดไว้ วัดเป็น คะแนนโดยการให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด าเนินการประเมินในแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่ง เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

1.10 ความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามอย่างเต็มความสามารถเพื่อประโยชน์

ขององค์การ หมายถึง การที่บุคลากรผู้ปฏิบัติงานยอมเสียสละเวลา ก าลังกาย ก าลังความคิด และสิ่งต่างๆ ให้แก่การท างานอย่างเต็มที่ โดยมุ่งหวังให้งานที่ปฏิบัตินั้นประสบความส าเร็จและ เป็นผลดีต่อองค์การในภาพรวม วัดเป็นคะแนนโดยการให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด าเนินการ ประเมินในแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

1.11 ความต้องการที่จะคงอยู่เป็นสมาชิกภาพขององค์การต่อไป หมายถึง ความ ต้องการที่จะอยู่ปฏิบัติงานในฐานะบุคลากรคนหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอย่างแน่วแน่ ไม่

มีความคิดหรือความต้องการที่จะลาออกจากการเป็นสมาชิกขององค์การ ไม่ว่าจะเป็นการลาออก เพื่อไปประกอบอาชีพอื่น หรือโยกย้ายไปปฏิบัติงานในองค์การอื่น วัดเป็นคะแนนโดยการให้

บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด าเนินการประเมินในแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ

ขั้นที่ 3 การก าหนดโครงสร้างของเนื้อหาที่ต้องการวัด

โครงสร้างหลักของเนื ้อหาที่ต้องการวัด คือ เรื่องคุณภาพชีวิตในการท างาน ซึ่งมี

องค์ประกอบ 8 องค์ประกอบ และเรื่องความผูกพันต่อองค์การ ซึ่งมีองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ ดังนั้นผู้วิจัยจึงก าหนดน ้าหนักความส าคัญในแต่ละเนื ้อหาของการวิจัย ดังตารางที่ 3 และ 4