• Tidak ada hasil yang ditemukan

จากพิสัย = (คะแนนสูงสุด-คะแนนต ่าสุด)/จ านวนชั้น ความกว้างของระดับคะแนนในแต่ละระดับ = คะแนนสูงสุด – คะแนนต ่าสุด

จ านวนระดับที่แบ่ง

=

ดังนั้นจากเกณฑ์ดังกล่าว ผู้วิจัยก าหนดการแปลความหมาย ดังนี ้

ค่าเฉลี่ยที่ 4.21 – 5.00 หมายถึงคุณภาพชีวิตในการท างานและความผูกพันต่อองค์การสูงที่สุด ค่าเฉลี่ยที่ 3.41 – 4.20 หมายถึงคุณภาพชีวิตในการท างานและความผูกพันต่อองค์การสูง ค่าเฉลี่ยที่ 2.61 – 3.40 หมายถึงคุณภาพชีวิตในการท างานและความผูกพันต่อองค์การปานกลาง ค่าเฉลี่ยที่ 1.81 – 2.60 หมายถึงคุณภาพชีวิตในการท างานและความผูกพันต่อองค์การต ่า ค่าเฉลี่ยที่ 1.00 – 1.80 หมายถึงคุณภาพชีวิตในการท างานและความผูกพันต่อองค์การต ่าที่สุด กลุ่มสถิติวิเคราะห์เชิงอนุมาน (Inferential Analytical Statistics)

- การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)

เพื่อใช้ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของระดับคุณภาพชีวิตในการท างานและความผูกพัน ต่อองค์การของบุคลากรตามประเภทผู้รับใบอนุญาตของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขต กรุงเทพมหานคร และหากมีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ .05 จะด าเนินการทดสอบ ความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีของเซฟเฟ่ (Scheffe’)

- ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation

Coefficient) (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2550) เพื่อใช้ทดสอบสหสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการ ท างานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขต กรุงเทพมหานคร

= 5 – 1 0.8 5

เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน มีดังนี ้ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ หมายความว่า

+0.8 ขึ้นไป มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับมาก

+0.61 – 0.80 มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับค่อนข้างมาก +0.41 – 0.60 มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง +0.21 – 0.40 มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับค่อนข้างน้อย +0.01 – 0.20 มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับน้อย

0.00 ไม่มีความสัมพันธ์กัน

ค่านัยส าคัญทางสถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี ้ ก าหนดไว้ที่ระดับ .05

สรุป การศึกษาเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท างานเพื่อเพิ่มความผูกพันต่อ องค์การของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานครครั้งนี ้ เป็นการส ารวจ โดยการสุ่มตัวอย่าง (Survey research) ประชากร ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่ง เจ้าหน้าที่และอาจารย์ประจ าของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ใช้การสุ่มแบบ แบ่งชั้นชนิดสัดส่วน (Proportional Stratified Sampling) โดยแบ่งตามประเภทผู้รับใบอนุญาต โดยมีตัวแปรอิสระ (Independent Variable) หรือตัวแปรที่น าไปสู่ความผูกพันต่อองค์การ คือ คุณภาพชีวิตในการท างาน โดยประกอบด้วย (1) ค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ (2) สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ (3) การพัฒนาความสามารถของบุคคล (4) ความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน (5) การบูรณาการด้านสังคม (6) สิทธิของพนักงาน / ธรรมนูญในองค์การ (7) ความสมดุลระหว่างชีวิตการท างานกับชีวิตส่วนตัว และ (8) ความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม และมีตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือความผูกพันต่อองค์การ และจากการน าแบบสอบถามไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างที่

จะท าการวิจัยจริง เพื่อตรวจสอบความถูกต้องในการสร้าง (Construct Validity) ความเชื่อถือได้

(Reliability) ความใช้ได้ในทางปฏิบัติ (Practicality) โดยการค านวณหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้

สูตรสัมประสิทธ์อัลฟ่า ของครอนบาค (Cronbach) ปรากฏว่าทุกมาตรวัดมีความเชื่อถือได้สูงกว่า 0.6 แสดงว่าข้อค าถามที่ใช้เป็นมาตรวัดที่มีความเชื่อถือได้สูง จากนั้นได้น าให้ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบความสมบูรณ์อีกครั้ง จึงน าแบบสอบถามไปใช้ในการเก็บข้อมูลจริงและสุดท้ายได้น า ข้อมูลไปใช้ในทางสถิติหรือวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วยโปรแกรม S SS ะน าเสนอในบทต่อไป

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท างานเพื่อเพิ่มความผูกพันต่อ องค์การของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร ได้ใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการศึกษา โดยน าข้อมูลมาประมวลผลด้วยโปรแกรม SPSS น ามาแปลผลและ วิเคราะห์ข้อมูล รายละเอียดเป็นดังนี ้