• Tidak ada hasil yang ditemukan

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี ้ได้แก่ กลุ่มบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ไทยในเขตกรุงเทพมหานคร จ านวน 279 คน โดยส่วนใหญ่เป็นบุคลากรที่เป็นเพศหญิง ท างาน ในต าแหน่งเจ้าหน้าที่ 142 คน และต าแหน่งอาจารย์ 137 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 – 40 ปี มีอายุการท างานมากกว่า 10 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ในระดับปริญญาโท และมีรายได้ต่อเดือน 10,000 – 20,000 บาท

ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires) ซึ่งผ่านการตรวจสอบ ความเที่ยงตรงเชิงเนื ้อหา (Content validity) จากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญจ านวน 3 ท่าน และได้ท าการทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ได้ค่า Cronbach’s reliability Coefficient alpha โดยรวมเท่ากับ α .92 แล้วจึงน าแบบสอบถามไปเก็บรวบวมข้อมูลด้วยตนเองจนได้

แบบสอบถามครบถ้วนและสมบูรณ์ จ านวน 279 ฉบับ แล้วจึงน ามาวิเคราะห์ค่าทางสถิติ โดย สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ ส่วนการทดสอบ สมมุติฐานการวิจัยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product moment correlation coefficient, Rxy) ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ซึ่งท าการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์โดยโปรแกรม SPSS For Window สามารถสรุปผลการศึกษาได้ดังนี ้

ผลการศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการท างาน (Quality of Work Life)

ในภาพรวมบุคลากรมีคุณภาพชีวิตในการท างานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ( = 3.42) และเมื่อพิจารณาในแต่ละด้านสามารถอธิบายได้ดังนี ้

ด้านค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ (Adequate and Fair Compensation) บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีคุณภาพชีวิตในการท างานด้านนี ้ ในระดับปานกลาง กล่าวคือบุคลากรเห็นว่าตนได้รับค่าตอบแทนและได้รับผลประโยชน์จากการ ปฏิบัติงานเพียงพอในการด ารงชีวิต อีกทั้งมีความยุติธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับลักษณะงานและ การปฏิบัติงานในระดับปานกลาง

ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ (Safe and Healthy Working Conditions) บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีคุณภาพชีวิตในการ ท างานด้านนี ้ในระดับปานกลาง กล่าวคือบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเห็นว่าตนได้อยู่ในสภาพแวดล้อม ของการท างานที่ดี องค์การมีการก าหนดมาตรฐานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพ ซึ่ง รวมไปถึงเรื่องการควบคุมเกี่ยวกับเรื่องของเสียง กลิ่น การรบกวนทางสายตา ในระดับปานกลาง

ด้านการพัฒนาความสามารถของบุคคล (Development of Human Capacities) บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีคุณภาพชีวิตในการท างานด้านนี ้ ในระดับสูง กล่าวคือบุคลากรเห็นว่าองค์การให้โอกาสตนได้ใช้ฝีมือพัฒนาทักษะและความรู้ของ ตนเองซึ่งส่งผลให้ตนนั้นมีความรู้สึกว่าตนมีคุณค่ากับงาน และมีคุณค่ากับองค์การ อีกทั้งมี

ความรู้สึกท้าทายจากการท างานของตนเองในระดับสูง

ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน (Opportunity for Continued Growth and Security) บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีคุณภาพชีวิตใน การท างานด้านนี ้ในระดับสูง กล่าวคือบุคลากรมีความรู้สึกเชื่อมั่นต่อความมั่นคงในหน้าที่การงาน และโอกาสที่ตนจะได้รับความก้าวหน้าในการท างาน ทั้งในเรื่องของรายได้และต าแหน่งงาน ใน ระดับสูง

ด้านการบูรณาการด้านสังคม หรือการท างานร่วมกัน (Social Integration) บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีคุณภาพชีวิตในการท างานด้านนี ้ ในระดับสูง กล่าวคือการที่ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ได้รับการยอมรับและร่วมมือจาก

กลุ่มเพื่อนร่วมงาน รู้สึกว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเพื่อนร่วมงาน มีการเปิดเผยตนเอง มี

บรรยากาศในการท างานที่ดี ในระดับสูง

ด้านสิทธิของพนักงาน / ธรรมนูญในองค์การ (Constitutionalism)

บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีคุณภาพชีวิตในการท างานด้านนี ้ ในระดับปานกลาง กล่าวคือบุคลากรเห็นว่าองค์การมีการใช้หลักธรรมนูญในการปฏิบัติงาน มี

การเคารพในสิทธิส่วนบุคคล ความเสมอภาพ การมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและการมีส่วน ร่วมในการบริหารงาน ในระดับปานกลาง

ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตการท างานกับชีวิตส่วนตัว (The Total Life Space) บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีคุณภาพชีวิตในการท างานด้านนี ้ ในระดับสูง กล่าวคือบุคลากรเห็นว่าการท างานในองค์การแห่งนี ้ท าให้ตนสามารถแบ่งเวลาได้

อย่างเหมาะสมในการด ารงชีวิต ไม่ว่าจะเป็นเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เวลาส่วนตัว เวลา ส าหรับครอบครัว เวลาพักผ่อน และเวลาที่ให้กับสังคม ในระดับสูง

ด้านการเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับสังคม (Social Relevance)

บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีคุณภาพชีวิตในการท างานด้านนี ้ ในระดับสูง กล่าวคือบุคลากรมีความรู้สึกว่างานและองค์การที่ตนปฏิบัติงานอยู่ มีความส านึก รับผิดชอบต่อสังคม เป็นประโยชน์ต่อสังคม ความภาคภูมิใจในงานและองค์การของตน ความมี

ชื่อเสียงและการได้รับการยอมรับจากสังคม ในระดับสูง

ผลการศึกษาในเรื่องความผูกพันต่อองค์การ (Organization Commitment)

ในภาพรวมบุคลากรมีความผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับสูง ( = 3.74) และ เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านสามารถอธิบายได้ดังนี ้

ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับในเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ

บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีความผูกพันต่อองค์การด้านนี ้ใน ระดับสูง กล่าวคือ เป็นความรู้สึกของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานที่มีความเห็นไปในทิศทางเดียวกันกับ เป้าหมาย และค่านิยมขององค์การที่ก าหนดไว้ ในระดับสูง

ด้านความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามอย่างเต็มความสามารถเพื่อ ประโยชน์ขององค์การ บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีความ ผูกพันต่อองค์การด้านนี ้ในระดับสูง กล่าวคือบุคลากรผู้ปฏิบัติงานได้แสดงออกถึงพฤติกรรมการ ปฏิบัติงานที่ยอมเสียสละเวลา ก าลังกาย ก าลังความคิดและสิ่งต่างๆ ให้แก่การท างานอย่าง เต็มที่ โดยมุ่งหวังให้งานที่ปฏิบัตินั้นประสบความส าเร็จและเป็นผลดีต่อองค์การในภาพรวม ใน ระดับสูง

ด้านความต้องการที่จะคงอยู่เป็นสมาชิกภาพขององค์การต่อไป

บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีความผูกพันต่อองค์การด้านนี ้ใน ระดับสูงกล่าวคือบุคลากรผู้ปฏิบัติงานมีความต้องการที่จะอยู่ปฏิบัติงานในฐานะบุคลากรคนหนึ่ง ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอย่างแน่วแน่ ไม่มีความคิดหรือความต้องการที่จะลาออกจากการ เป็นสมาชิกขององค์การ ไม่ว่าจะเป็นการลาออกเพื่อไปประกอบอาชีพอื่น หรือโยกย้ายไป ปฏิบัติงานในองค์การอื่น ในระดับสูง

ผลการทดสอบสมมุติฐาน

สมมุติฐานข้อที่ 1 : ประเภทผู้รับใบอนุญาตที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการท างาน และความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน

1. ประเภทผู้รับใบอนุญาตที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการท างาน แตกต่างกัน แบ่งเป็นสมมุติฐานย่อย 9 ประการ ดังนี้

1.1 คุณภาพชีวิตในการท างานโดยรวม พบว่าประเภทผู้รับใบอนุญาตที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานการ วิจัย

1.2 ด้านค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ พบว่าประเภทผู้รับใบอนุญาต ที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งไม่เป็นไป ตามสมมุติฐานการวิจัย

1.3 ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ พบว่าประเภทผู้รับใบอนุญาต ที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งเป็นไปตาม สมมุติฐานการวิจัย

1.4 ด้านการพัฒนาความสามารถของบุคคล พบว่าประเภทผู้รับใบอนุญาต ที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งเป็นไปตาม สมมุติฐานการวิจัย

1.5 ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน พบว่าประเภทผู้รับใบอนุญาต ที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งเป็นไปตาม สมมุติฐานการวิจัย

1.6 ด้านการบูรณาการด้านสังคมหรือการท างานร่วมกัน พบว่าประเภทผู้รับ ใบอนุญาตที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ

ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมุติฐานการวิจัย

1.7 ด้านสิทธิของพนักงาน / ธรรมนูญในองค์การ พบว่าประเภทผู้รับใบอนุญาต ที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งไม่เป็นไป ตามสมมุติฐานการวิจัย

1.8 ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตการท างานกับชีวิตส่วนตัว พบว่าประเภท ผู้รับใบอนุญาตที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติ ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมุติฐานการวิจัย

1.9 ด้านการเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับสังคม พบว่าประเภทผู้รับใบอนุญาต ที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งไม่เป็นไป ตามสมมุติฐานการวิจัย

2. ประเภทผู้รับใบอนุญาตที่แตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน แบ่งเป็นสมมุติฐานย่อย 4 ประการ ดังนี้

2.1 ความผูกพันต่อองค์การโดยรวม พบว่าประเภทผู้รับใบอนุญาตที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมุติฐานการ วิจัย

2.2 ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับในเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ พบว่า ประเภทผู้รับใบอนุญาตที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติ ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมุติฐานการวิจัย

2.3 ด้านความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามอย่างเต็มความ สามารถเพื่อประโยชน์

ขององค์การ พบว่าประเภทผู้รับใบอนุญาตที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตในการท างานไม่แตกต่าง กันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมุติฐานการวิจัย