• Tidak ada hasil yang ditemukan

ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยน าเสนอในรูปความถี่

และร้อยละ ปรากฏผลดังนี ้

ตารางที่ 6 จ านวนความถี่และค่าร้อยละของคุณสมบัติพื ้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม (N=279) คุณสมบัติพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน (คน) ร้อยละ 1. เพศ

ชาย 69 24.7

หญิง 210 75.3

รวม 279 100.0

2. ต าแหน่ง

อาจารย์ 137 49.1

เจ้าหน้าที่ 142 50.9

รวม 279 100.0

3. อายุ

ต ่ากว่า 30 ปี 55 19.7

30 - 40 ปี 134 48.0

สูงกว่า 40 ปี 90 32.3

รวม 279 100.0

ตารางที่ 6 (ต่อ)

คุณสมบัติพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน (คน) ร้อยละ 4. ประสบการณ์การท างาน

อายุงานต ่ากว่า 5 ปี 64 22.9

อายุงาน 5 – 10 ปี 74 26.5

อายุงาน 10 ปีขึ้นไป 141 50.5

รวม 279 100.0

5. สภาพสมรส

โสด 146 52.3

สมรส 121 43.4

อื่นๆ 12 4.3

รวม 279 100.0

6. ระดับการศึกษา

ต ่ากว่าปริญญาตรี 37 13.3

ปริญญาตรี 88 31.5

ปริญญาโท 140 50.2

ปริญญาเอก 14 5.0

รวม 279 100.0

7. เงินเดือน

เงินเดือนต ่ากว่า 10,000 บาท / เดือน 11 3.9

เงินเดือน 10,000 – 20,000 บาท/ เดือน 118 42.3

เงินเดือน 20,001 – 30,000 บาท / เดือน 94 33.7

เงินเดือนมากกว่า 30,000 บาท 56 20.1

รวม 279 100.0

จากตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์คุณสมบัติพื ้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ที่เป็นบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในเขตกรุงเทพมหานคร จ านวน 279 คน จ าแนกตามตัวแปรได้ผลการวิเคราะห์ดังนี ้

เพศ พบว่า บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่

เป็นเพศหญิง จ านวน 210 คน คิดเป็นร้อยละ 75.3 และเพศชาย จ านวน 69 คน คิดเป็นร้อย ละ 24.7

ต าแหน่ง พบว่า บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มี

ต าแหน่งเป็นเจ้าหน้าที่ จ านวน 142 คน คิดเป็นร้อยละ 50.9 และมีต าแหน่งเป็นอาจารย์

จ านวน 137 คน คิดเป็นร้อยละ 49.1

อายุ พบว่า บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่มี

อายุระหว่าง 30-40 ปี มีจ านวน 134 คน คิดเป็นร้อย 48.0 รองลงมาคืออายุสูงกว่า 40 ปี มี

จ านวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 32.3 และอายุต ่ากว่า 30 ปี มีจ านวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 19.7

ประสบการณ์การท างาน พบว่า บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขต กรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่มีประสบการณ์การท างานมากกว่า 10 ปี มีจ านวน 141 คน คิดเป็น ร้อยละ 50.5 รองลงมาคืออายุงานระหว่าง 5-10 ปี มีจ านวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 26.5 และ อายุงานต ่ากว่า 5 ปี จ านวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 22.9

สภาพสมรส พบว่า บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่เป็นโสด มีจ านวน 146 คน คิดเป็นร้อยละ 52.3 สมรสแล้ว จ านวน 121 คน คิดเป็น ร้อยละ 43.4 และอื่นๆ จ านวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 4.3

ระดับการศึกษา พบว่า บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับปริญญาโท จ านวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 50.2 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี จ านวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 31.5 ต ่ากว่าระดับปริญญาตรี จ านวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 13.3 และระดับปริญญาเอก จ านวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 5.0

เงินเดือน พบว่า บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่มีรายได้ระหว่าง 10,000-20,000 บาท จ านวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 42.3 รองลงมาคือรายได้ระหว่าง 20,001-30,000 บาท มีจ านวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 33.7 รองลงมาอีกคือ มากกว่า 30,000 บาท จ านวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 20.1 และต ่ากว่า 10,000 บาท จ านวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 3.9

ส่วนที่ 2

1. การวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิตในการท างานของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ไทยในเขตกรุงเทพมหานคร

การวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิตในการท างานของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ไทยในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย (1) ค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ (2) สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ (3) การพัฒนาความสามารถของบุคคล (4) ความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน (5) การบูรณาการด้านสังคมหรือการท างานร่วมกัน (6) สิทธิของพนักงาน / ธรรมนูญในองค์การ (7) ความสมดุลระหว่างชีวิตการท างานกับชีวิตส่วนตัว และ (8) การเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับสังคม โดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D) ซึ่งปรากฏผลดังนี ้

ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ของคุณภาพชีวิตในการท างาน รายด้านและโดยรวมของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร

คุณภาพชีวิตในการท างาน ระดับคุณภาพชีวิต

S.D การแปลผล

(1) ค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ 2.93 .845 ปานกลาง (2) สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ 3.37 .780 ปานกลาง

(3) การพัฒนาความสามารถของบุคคล 3.54 .685 สูง

(4) ความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน 3.45 .747 สูง (5) การบูรณาการด้านสังคมหรือการท างานร่วมกัน 3.53 .728 สูง (6) สิทธิของพนักงาน / ธรรมนูญในองค์การ 3.35 .861 ปานกลาง (7) ความสมดุลระหว่างชีวิตการท างานกับชีวิตส่วนตัว 3.47 .776 สูง (8) การเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับสังคม 3.74 .617 สูง

รวม 3.42 .590 สูง

จากตารางที่ 7 พบว่า บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร มีคุณภาพชีวิตในการท างานโดยรวมในระดับสูง ( = 3.42) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าบุคลากรมีคุณภาพชีวิตในการท างานในระดับสูง จ านวน 5 ด้าน จากองค์ประกอบของ คุณภาพชีวิตในการท างานทั้งหมด 8 ด้าน กล่าวคือด้านการเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับสังคม

( = 3.74) รองลงมาคือการพัฒนาความสามารถของบุคคล ( = 3.54) รองลงมาอีกคือด้าน การบูรณาการด้านสังคมหรือการท างานร่วมกัน ( = 3.53) ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตการ ท างานกับชีวิตส่วนตัว ( = 3.47) และความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ( = 3.45) ตามล าดับ และพบว่าบุคลากรมีคุณภาพชีวิตในการท างานในระดับปานกลาง จ านวน 3 ด้าน กล่าวคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ( = 3.37) รองลงมาคือด้านสิทธิของ พนักงาน / ธรรมนูญในองค์การ ( = 3.35) และด้านค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ ( = 2.93) ตามล าดับ

ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ของคุณภาพชีวิตในการท างาน รายข้อของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร

คุณภาพชีวิตในการท างาน ระดับคุณภาพชีวิต

S.D การแปลผล

ค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ

1. ท่านได้รับค่าตอบแทนเพียงพอกับค่าใช้จ่าย ในชีวิตประจ าวัน

3.00 .929 ปานกลาง 2. ท่านได้รับเงินเดือนและค่าตอบแทนเหมาะสมกับงาน

ที่รับผิดชอบ

3.01 .910 ปานกลาง 3. ท่านได้รับเงินเดือนและค่าตอบแทนเหมาะสมกับความรู้

ความสามารถของท่าน

3.05 .910 ปานกลาง 4. ท่านได้รับค่าตอบแทนอย่างยุติธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับ

ผู้ร่วมวิชาชีพเดียวกัน

2.95 .947 ปานกลาง 5. เงินเดือนและค่าตอบแทนที่ได้รับสอดคล้องกับสภาวะ

เศรษฐกิจในปัจจุบัน

2.65 1.003 ปานกลาง

ตารางที่ 8 ( ต่อ )

คุณภาพชีวิตในการท างาน ระดับคุณภาพชีวิต

S.D การแปลผล

สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ

1. ท่านพอใจกับการให้บริการด้านสุขภาพขององค์การ เช่น ห้องพยาบาล

3.09 1.025 ปานกลาง 2. ท่านพอใจกับระบบรักษาความปลอดภัยขององค์การ 3.38 .960 ปานกลาง 3. องค์การของท่านมีการวางแผนเกี่ยวกับการป้องกันภัยพิบัติ

ต่างๆ เพื่อป้องกันความปลอดภัยของบุคลากร

3.35 .912 ปานกลาง 4. สถานที่ท างานของท่านมีความสะอาดปลอดโปร่งและมี

อากาศถ่ายเทสะดวก

3.48 .989 สูง 5. อาคาร สถานที่ท างานสะอาด บรรยากาศดูสบาย เหมาะสม

กับการปฏิบัติงาน

3.57 .918 สูง

การพัฒนาความสามารถของบุคคล

1. ท่านมีโอกาสได้ใช้ความรู้ ความสามารถ และทักษะในการ ท างานได้อย่างเต็มที่

3.73 .840 สูง 2. องค์การมีการจัดอบรมและพัฒนาทักษะให้กับพนักงาน

อย่างสม ่าเสมอ

3.59 .855 สูง 3. ผู้บังคับบัญชาของท่านสนับสนุนให้เข้ารับการอบรม

สัมมนา หรือร่วมกิจกรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนา ตนเอง

3.73 .902 สูง

4. ท่านมีโอกาสในการใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการ ท างาน

3.60 .875 สูง 5. พนักงานมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนหน้าที่ความรับผิดชอบ

เพื่อเพิ่มทักษะและความรู้

3.06 .931 ปานกลาง

ตารางที่ 8 ( ต่อ )

คุณภาพชีวิตในการท างาน ระดับคุณภาพชีวิต

S.D การแปลผล

ความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน

1. ท่านมีโอกาสที่จะได้รับการมอบหมายงานที่ต้องใช้

ความสามารถมากขึ้นและมีความรับผิดชอบมากขึ้น

3.62 .910 สูง 2. องค์การเปิดโอกาสและสนับสนุนให้บุคลากรศึกษาต่อใน

ระดับที่สูงขึ้น

3.53 1.041 สูง 3. ท่านรู้สึกได้ว่าได้ท างานในองค์การที่มั่นคง 3.79 .840 สูง 4. ท่านเชื่อว่าสามารถก้าวหน้าในสายอาชีพที่ท าอยู่ปัจจุบัน 3.30 .982 ปานกลาง 5. ท่านมีโอกาสที่จะได้รับการเลื่อนขั้นไปในต าแหน่งที่สูงขึ้น 3.00 1.094 ปานกลาง

การบูรณาการด้านสังคมหรือการท างานร่วมกัน

1. องค์การมีบรรยากาศในการท างานที่เป็นกันเอง 3.78 .775 สูง 2. เพื่อนร่วมงานมีความร่วมมือสมัครสมานสามัคคี

เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

3.59 .830 สูง 3. ผู้บังคับบัญชายอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

เสมอ

3.36 .997 ปานกลาง 4. การปฏิบัติตนของผู้บังคับบัญชาที่มีต่อตัวท่าน สามารถท า

ให้ท่านรู้สึกได้ว่าตัวท่านเองมีคุณค่ากับหน่วยงาน หรือกับ องค์การ

3.40 .957 ปานกลาง

5. ท่านมีเพื่อนร่วมงาน และผู้บังคับบัญชาที่ไว้วางใจได้

สามารถปรึกษาเรื่องงานและเรื่องส่วนตัวได้

3.52 .940 สูง

สิทธิของพนักงาน / ธรรมนูญในองค์การ

1. ผู้บังคับบัญชาให้ความเสมอภาคและความยุติธรรมในที่

ท างาน

3.34 1.007 ปานกลาง 2. ผู้บังคับบัญชายอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

เสมอ

3.39 1.053 ปานกลาง 3. เพื่อนร่วมงานให้ความเคารพสิทธิส่วนบุคคลซึ่งกันและกัน 3.59 .860 สูง

ตารางที่ 8 ( ต่อ )

คุณภาพชีวิตในการท างาน ระดับคุณภาพชีวิต

S.D การแปลผล 4. องค์การมีการสอบถามความคิดเห็นของท่านเพื่อน าไปแก้ไข

ปรับปรุงสภาพการท างาน

3.28 .993 ปานกลาง 5. องค์การเปิดโอกาสให้บุคลากรร้องทุกข์ได้เมื่อไม่ได้รับความ

ยุติธรรม

3.17 1.048 ปานกลาง

ความสมดุลระหว่างชีวิตการท างานกับชีวิตส่วนตัว 1. ท่านแบ่งเวลาส าหรับตนเอง การท างาน ครอบครัวและ กิจกรรมอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม

3.52 .901 สูง 2. ท่านมีเวลาส าหรับการพักผ่อนอย่างเพียงพอที่บ้านหลังเลิก

งานหรือวันหยุดเสมอ

3.34 .941 ปานกลาง 3. ท่านพอใจกับการใช้เวลาในการท างาน ครอบครัว สังคม

และเวลาส่วนตัว

3.46 .932 สูง 4. ชีวิตครอบครัวและงานไม่เป็นอุปสรรค์ต่อกัน 3.68 .846 สูง 5. ท่านสามารถที่จะลางานเพื่อไปพักผ่อนหรือท าธุระส่วนตัวได้

อย่างอิสระ

3.34 .991 ปานกลาง

การเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับสังคม

1. องค์การของท่านมีการพัฒนาคุณภาพขององค์การเพื่อให้

เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ลูกค้า

3.70 .766 สูง 2. องค์การของท่านท าประโยชน์ให้กับสังคมเสมอ โดยท่านมี

ส่วนร่วมในกิจกรรมนั้นเสมอเช่นกัน

3.62 .762 สูง 3. ท่านมีความเสียสละและยินดีที่จะมีส่วนร่วมในการท า

ประโยชน์ให้กับสังคมในนามขององค์การ

3.81 .747 สูง 4. ครอบครัวของท่านให้การสนับสนุนและภูมใจที่ท่านได้

ท างานในองค์การแห่งนี ้

3.81 .720 สูง 5. องค์การของท่านได้ท าประโยชน์ให้กับสังคมจนเป็นที่

ยอมรับจากสังคมโดยรวม

3.76 .711 สูง