• Tidak ada hasil yang ditemukan

การสังเคราะห์ตัวบ่งชี้ด้านการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ

33 ความท้าทายทั้งกิจกรรมรายบุคคลและกิจกรรมกลุ่ม 8) มุ่งเน้นให้นักเรียนมีโอกาสเข้าร่วมในการ เรียนรู้ตามความต้องการและความสนใจ 9) มีผลงานเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนเกิดขึ้นอย่าง หลากหลาย 10) บริหารเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ สถานศึกษาได้ท าการศึกษา วิเคราะห์ความต้องการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ 11) การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ให้บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร การเลือกและมีกระบวนการออกแบบ วางแผน การด าเนินการผลิต การบริการ การน าไปใช้ และบ ารุงรักษา 12) ครูและนักเรียนมีส่วนร่วม รับผิดชอบและการจัดการ 13) การเผยแพร่อย่างเป็นระบบ 14) การบริหารและการจัดการของ สถานศึกษาเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนาแนวทางการออกแบบกระบวนการประเมินผล ข้อมูลสารสนเทศในการตัดสิน ปรับปรุง และการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 15) ก าหนด ระเบียบวิธีการวัดผลประเมินผลเพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศในการตัดสินปรับปรุง และการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา 16) กระบวนการสร้างและพัฒนาคุณภาพเครื่องมือที่มีคุณภาพ 17) จัดท า เอกสารประกอบการวัดและประเมินผล สรุปรายงานเสนอผู้เกี่ยวข้องทราบ น าผลไปใช้เพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษา

จากองค์ประกอบด้านการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการผู้วิจัยได้รวบรวม และสังเคราะห์ตัวบ่งชี้ ปรากฏดังตาราง 3

34 ตาราง 3 (ต่อ)

ตัวบ่งชี้ด้านการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ

สถาบัน/หน่วยงาน

ความถี่

ส านักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา (2550) ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (2560) ส านักทดสอบทางการศึกษา (2560) กระทรวงศึกษาธิการ (2562) 2. ออกแบบและวางแผนพัฒนาหลักสูตรให้มีความ

ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน เป้าหมายและวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา     4 3. น าหลักสูตรไปวางแผนและออกแบบการจัดการ

เรียนการสอนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้    3 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้บรรลุตามเป้าหมายของ

หลักสูตร     4

5. นิเทศ ก ากับ ติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร    3 6. น าผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร

โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา     4

7. ออกแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตร โดยก าหนด วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิด แนวทางการจัดกิจกรรมที่

สอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้    3

8. มุ่งเน้นให้นักเรียนมีโอกาสเข้าร่วมในการเรียนรู้ตาม

ความต้องการและความสนใจ     4

9. มีผลงานเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนเกิดขึ้นอย่าง

หลากหลาย    3

10. ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการใช้สื่อเทคโนโลยี

เพื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้     4

35 ตาราง 3 (ต่อ)

ตัวบ่งชี้ด้านการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ

สถาบัน/หน่วยงาน

ความถี่

ส านักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา (2550) ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (2560) ส านักทดสอบทางการศึกษา (2560) กระทรวงศึกษาธิการ (2562) 11. ครูและนักเรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ

และการจัดการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

และแหล่งการเรียนรู้    3

12. พัฒนาแนวทางการออกแบบกระบวนการ

ประเมินผล ข้อมูลสารสนเทศในการตัดสิน ปรับปรุง

และการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา     4

13. ก าหนดระเบียบวิธีการวัดผลประเมินผล เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศในการตัดสินปรับปรุง

และการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา    3

14. สร้างและพัฒนาคุณภาพเครื่องมือที่มีคุณภาพ    3 15. จัดท าเอกสารประกอบการวัดและประเมินผล

สรุปรายงานเสนอผู้เกี่ยวข้องทราบน าผลไปใช้

เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา    3

จากตาราง 3 สรุปได้ว่า ตัวบ่งชี้ด้านการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ มีตัวบ่งชี้ ดังนี้

1. สถานศึกษามีการวิเคราะห์ความต้องการจ าเป็นของสถานศึกษา ชุมชน สังคมและท้องถิ่น ร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง

2. ออกแบบและวางแผนพัฒนาหลักสูตรให้มีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป้าหมายและวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา

36 3. น าหลักสูตรไปวางแผนและออกแบบการจัดการเรียนการสอนแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้

4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร 5. นิเทศ ก ากับ ติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร

6. น าผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา 7. ออกแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตร โดยก าหนดวัตถุประสงค์ กรอบแนวคิด

แนวทางการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้

8. มุ่งเน้นให้นักเรียนมีโอกาสเข้าร่วมในการเรียนรู้ตามความต้องการและความสนใจ 9. มีผลงานเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนเกิดขึ้นอย่างหลากหลาย

10. ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้

11. ครูและนักเรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบและการจัดการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

และแหล่งการเรียนรู้

12. พัฒนาแนวทางการออกแบบกระบวนการประเมินผล ข้อมูลสารสนเทศในการ ตัดสิน ปรับปรุง และการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

13. ก าหนดระเบียบวิธีการวัดผลประเมินผลเพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศในการตัดสิน ปรับปรุง และการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

14. สร้างและพัฒนาคุณภาพเครื่องมือที่มีคุณภาพ

15. จัดท าเอกสารประกอบการวัดและประเมินผล สรุปรายงานเสนอผู้เกี่ยวข้องทราบ น าผลไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

3. ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา 3.1 ความหมาย

นักวิชาการ นักการศึกษา ได้เสนอความหมายด้านการบริหารและการจัด การศึกษา ไว้ดังนี้

สุธรรม ธรรมทัศนานนท์ (2552) ได้เสนอความหมายการบริหาร และการจัดการศึกษา หมายถึง กระบวนการท างานให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร ซึ่งต้องอาศัย ความร่วมมือของบุคคลและกลุ่ม โดยใช้กระบวนการอย่างมีระบบและใช้ทรัพยากรตลอดจน เทคนิคต่าง ๆ อย่างเหมาะสม

ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2560) ได้เสนอความหมาย การบริหารและการจัดการศึกษา หมายถึง ผู้บริหารสถานศึกษาแสดงภาวะผู้น าในการพัฒนา สถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย โดยยึดหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม สร้างผลงานโดดเด่น

เป็นที่ยอมรับ ปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์ของบุคลากรในสถานศึกษามุ่งพัฒนาสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ

37 ด าเนินการจัดการและพัฒนาสื่อเทคโนโลยีและระบบการสื่อสารเพื่อการบริหารและการจัดการเรียน การสอนได้อย่างคุ้มค่า ด้วยระบบการประกันภาพที่เข้มแข็ง

George (1978) ได้เสนอความหมายการบริหารและการจัดการศึกษา หมายถึง การบริหารงานบริหารทุกอย่างจ าเป็นต้องกระท าโดยมีหลักเกณฑ์ ซึ่งก าหนดจากการ วิเคราะห์ศึกษาโดยรอบคอบ ทั้งนี้เพื่อให้มีวิธีที่ดีที่สุดในอันที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการผลิต มากยิ่งขึ้นเพื่อประโยชน์ส าหรับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

Koontz (1984) ได้เสนอความหมายการบริหารและการจัดการศึกษา หมายถึง การด าเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัสดุ

สิ่งของเป็นอุปกรณ์การจัดการ

สรุปได้ว่า การบริหารและการจัดการศึกษา หมายถึง การบริหารงานบริหาร ทุกอย่างจ าเป็นต้องกระท าโดยมีหลักเกณฑ์ โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัสดุ และวิธีการ ปฏิบัติงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร ผู้บริหารสถานศึกษาแสดงภาวะผู้น าในการพัฒนา สถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย โดยยึดหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม สร้างผลงานโดดเด่นเป็นที่

ยอมรับ ปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์ของบุคลากรในสถานศึกษามุ่งพัฒนาสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ 3.2 ตัวบ่งชี้

นักวิชาการ นักการศึกษา ได้เสนอตัวบ่งชี้ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ไว้ดังนี้

ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2550) ได้เสนอตัวบ่งชี้

ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ประกอบด้วย

1. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 2. พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

3. บริหารงบประมาณและการบริการเพื่อน ามาใช้จ่ายในการศึกษาของ โรงเรียน

4. บริหารงานอาคารสถานที่ ใช้อาคารให้เกิดประโยชน์สูงสุด ควบคุมดูแล รักษา และให้บริการแก่ชุมชน

ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2560) ได้ก าหนดตัวบ่งชี้

ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ประกอบด้วย 5 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ภาวะผู้น าของผู้บริหาร 2) การพัฒนาองค์กร 3) เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา 4) ตัวบ่งชี้ระบบประกันคุณภาพ ภายใน 5) ระบบข้อมูลและสารสนเทศ

38 ส านักทดสอบทางการศึกษา (2560) ได้ก าหนดตัวบ่งชี้การบริหารและการจัด การศึกษา ประกอบด้วย

ภาวะผู้น าของผู้บริหาร ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์ยึดหลักการบริหาร แบบมีส่วนร่วม มีคุณธรรมจริยธรรม และอุทิศตนในการปฏิบัติงาน วางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา จัดท าหลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาคุณภาพนักเรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความเป็น ประชาธิปไตย มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ชัด สร้างขวัญและก าลังใจแก่ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาให้ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึง และมีความพึงพอใจจากการบริหารงานของผู้บริหาร

การพัฒนาองค์กร การสร้างระบบและจัดท าแผนเพื่อใช้พัฒนา การเปลี่ยนแปลงองค์กรให้เกิดประสิทธิผลสู่ความเป็นเลิศ โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม การพัฒนา ระบบแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การส่งเสริมคุณธรรม และค่านิยมที่ดีงามที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม การจัดสภาพแวดล้อมสวยงาม อาคารสถานที่ทุกแห่งมีความสะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ มั่นคง แข็งแรง อุปกรณ์และสิ่งอ านวยความสะดวกประจ าอาคารเรียนมีปริมาณ เพียงพอ การสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนกับนักเรียน นักเรียนกับครู ครูกับผู้ปกครอง รับฟังความคิดเห็นและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย

เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาด าเนินการ จัดหาและพัฒนาสื่อเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการเรียนการสอน บริหารจัดการ วางแผนและก าหนด แนวทางการใช้ ก ากับติดตาม ประเมินผลการใช้ น าผลที่ได้มาปรับปรุงพัฒนาให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อการจัดการเรียนการสอนและการบริหารงาน

ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาจัดระบบการด าเนินงาน/

กิจกรรม โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ นักเรียนได้รับผลประโยชน์อย่างเต็มที่

โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพภายในสู่การปฏิบัติอย่างเข้มแข็ง นิเทศ ก ากับ ติดตามเพื่อให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความพึงพอใจ ระบบข้อมูลและสารสนเทศ สถานศึกษามีการจัดการระบบข้อมูล สารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษาครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ระบบการใช้งาน มีประสิทธิภาพ ง่ายและสะดวกรวดเร็ว ต่อการสืบค้นและการให้บริการ การจัดเก็บอย่างเป็นระบบ และทันสมัย พัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นปัจจุบัน การน าไปใช้ในการบริหารและจัดการงานของ สถานศึกษา พัฒนาการจัดการเรียนการสอน การเผยแพร่แหล่งข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมใน สถานศึกษาที่ส่งผลถึงการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาหลากหลายวิธีและน่าสนใจ

กระทรวงศึกษาธิการ (2562) ได้ก าหนดตัวบ่งชี้การบริหาร

และการจัดการศึกษาไว้ ประกอบด้วย 1) ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์ 2) ยึดหลักการบริหารแบบมี

ส่วนร่วม มีคุณธรรมจริยธรรม และอุทิศตนในการปฏิบัติงาน มีความเป็นประชาธิปไตย 3) ผู้บริหารมี

Garis besar

Dokumen terkait