• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงระยะการวิจัย ขั้นตอนการด าเนินการ และผลที่คาดหวัง

ระยะที่ 2

การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความ ต้องการจ าเป็นการบริหาร สถานศึกษาสู่โรงเรียน พระราชทานขนาดเล็กสังกัด ส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

1. ศึกษาเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. สร้างแบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

และความต้องการจ าเป็นของการบริหารสถานศึกษาสู่

โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็กสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. เก็บข้อมูลจากลุ่มตัวอย่าง

4. วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสภาพ ปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ มาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความ ต้องการจ าเป็นและจัดล าดับความต้องการ (PNI)

1. ศึกษา Best Practices โรงเรียนที่ประสบความส าเร็จที่ได้รับ รางวัลโรงเรียนพระราชทาน

2. ยกร่างรูปแบบการบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทาน ขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ฉบับที่ 1)

3. ตรวจสอบ ยืนยัน แนวทางการพัฒนา รูปแบบการบริหาร สถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย

ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 9 คน โดยวิธีการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ 4. ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบฯ โดยผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 9 คน

รูปแบบการบริหาร สถานศึกษาสู่โรงเรียน พระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

ทราบสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และ ความต้องการจ าเป็นการ บริหารสถานศึกษาสู่

โรงเรียนพระราชทาน ขนาดเล็กสังกัด ส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ระยะที่ 3

การพัฒนารูปแบบการ บริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียน พระราชทานขนาดเล็ก สังกัด ส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ระยะที่ 1

การศึกษาองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้การบริหารสถานศึกษา สู่โรงเรียนพระราชทานขนาด เล็กสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน

1. ศึกษาเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. ตรวจสอบยืนยันองค์ประกอบตัวบ่งชี้ จัดสนทนากลุ่ม

องค์ประกอบตัวบ่งชี้การ บริหารสถานศึกษาสู่

โรงเรียนพระราชทาน ขนาดเล็กสังกัด ส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ระยะที่ 4

ทดลองใช้รูปแบบการบริหาร สถานศึกษาสู่โรงเรียน พระราชทานขนาดเล็กสังกัด ส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

1. น ารูปแบบฯไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย

2. ประเมินผลการใช้รูปแบบฯ ประเมินความพึงพอใจการใช้

รูปแบบฯ

3. สรุปและรายงานผลการวิจัย

1. ผู้ร่วมวิจัยมีความรู้ความ เข้าใจและน ารูปแบบฯ ไป ใช้ได้อย่างถูกต้อง 2. ผู้ร่วมวิจัยมีความพึง พอใจต่อการใช้รูปแบบฯ ที่

ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นในระดับ มากถึงมากที่สุด

96 ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาด

เล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. วิธีการด าเนินการวิจัย แบ่งเป็น 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ศึกษา แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของการบริหาร สถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสังเคราะห์วิเคราะห์องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และยกร่างองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ของการบริหาร สถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตอนที่ 2 ตรวจสอบยืนยันและประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของ การบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานด าเนินการ ดังนี้

2.1 ผู้วิจัยน าร่างองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ ของการบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียน พระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน น าเสนอต่ออาจารย์ที่

ปรึกษา เพื่อให้ข้อเสนอแนะและปรับปรุง แก้ไข

2.2 ผู้วิจัยน าร่างองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ การบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียน พระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน น าเสนอผู้ทรงคุณวุฒิ

จ านวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใช้เทคนิคจัดสัมมนากลุ่ม (Focus group) เพื่อ ตรวจสอบยืนยันและประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของ การบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน

2. กลุ่มผู้ให้ข้อมูล

กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการตรวจสอบยืนยันและประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบ และตัวบ่งชี้ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผู้วิจัยได้ก าหนดคุณสมบัติของผู้ทรงคุณวุฒิไว้ ดังนี้

1. นักบริหารการศึกษา ที่จบการศึกษารับปริญญาเอก สาขาบริหารการศึกษา จ านวน 3 คน

2. นักบริหารสถานศึกษาที่จบการศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา/

วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ จ านวน 3 คน

3. คณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ผู้ที่จบการศึกษาระดับ ปริญญาเอก สอนในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มีผลงานทางวิชาการหนังสือต าราและงานวิจัยที่

เกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา จ านวน 3 คน ดังนี้

97 3.1 ดร.สุวัฒน์ เงินฉ่ า ข้าราชการบ านาญ (อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา)

กระทรวงศึกษาธิการ

3.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมานจิตร ภิรมย์รื่น ผู้ทรงคุณวุฒิประจ าสภา การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

3.3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ กลิ่นกุหลาบ ข้าราชการบ านาญ (อดีตหัวหน้าภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรฒ)

3.4. ดร.วิษณุ ทรัพย์สมบัติ ผู้อ านวยการส านักทดสอบทางการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3.5. รองศาสตราจารย์ ดร.จิณณวัตร ปะโคทัง คณบดีคณะครุศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

3.6. ว่าที่ร้อยตรี ดร.อานนท์ สุขภาคกิจ ศึกษาธิการกรุงเทพมหานคร 3.7. รองศาสตราจารย์ ดร.สฎายุ ธีระวณิชตระกูล คณบดีคณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยบูรพา

3.8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อ านาจ ชนะวงศ์ อาจารย์ประจ าหลักสูตรบริหาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย

3.9. บาทหลวง ดร.เอกชัย ชิณโคตร ผู้จัดการโรงเรียนมารีอนุสรณ์

จังหวัดบุรีรัมย์

3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

3.1 ประเภทและลักษณะของเครื่องมือ 3.1.1 แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม

3.1.2 แบบประเมิน แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

3.2 การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ

3.2.1 แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม ตามล าดับ ดังนี้

3.2.1.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบบันทึกจากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) จากเอกสารต ารา (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

3.2.1.2 สร้างแบบบันทึกจากการสนทนากลุ่มการศึกษาองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้

การบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน

3.2.1.3 น าเครื่องมือเสนออาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณาตรวจข้อเสนอแนะ และปรับปรุงแก้ไข

98 3.2.1.4 น าเครื่องมือเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเพื่อหาค่าความเที่ยงตรงด้าน เนื้อหา โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อค าถาม ซึ่งก าหนดค่าตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป โดยผู้เชี่ยวชาญ

3.2.1.5 ปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญ

3.2.1.6 จัดพิมพ์แบบบันทึกฉบับสมบูรณ์เพื่อด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.2.2 แบบประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวบ่งชี้

3.2.2.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวบ่งชี้

จากเอกสารต ารา (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

3.2.2.2 สร้างแบบประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ การบริหาร

สถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.2.2.3 น าเครื่องมือเสนออาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณาตรวจข้อเสนอแนะ

และปรับปรุงแก้ไข

3.2.2.5 ปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของอาจารย์ที่ปรึกษา

3.2.2.6 จัดพิมพ์แบบบันทึกฉบับสมบูรณ์ เพื่อด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล

ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้

4.1 ผู้วิจัยขอหนังสือจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อผู้ทรงคุณวุฒิ ในการขอความอนุเคราะห์เข้าร่วมสนทนากลุ่ม (Focus Group)

4.2 ผู้วิจัยด าเนินการการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 9 คน 4.3 ผู้วิจัยน าข้อมูลที่ได้จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ด าเนินการปรับปรุง แก้ไขต่อไป

5. การจัดกระท าและวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis)

ผู้วิจัยด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบประเมินองค์ประกอบและตัวบ่งชี้

การบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยก าหนดเกณฑ์การแปลความหมายค่าเฉลี่ย ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความเหมาะสม อยู่ในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความเหมาะสม อยู่ในระดับน้อย

99 คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความเหมาะสม อยู่ในระดับน้อยที่สุด ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การบริหารสถานศึกษาขนาดเล็กสู่

โรงเรียนพระราชทาน สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจ าเป็นของ การบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานดังนี้

1. วิธีการด าเนินการวิจัย

1.1 ศึกษาเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษาสู่

โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากนักการศึกษา หลายท่าน

1.2 น าผลการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เอกสาร ต ารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้

องค์ประกอบการบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาก าหนดเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัยและสร้างแบบสอบถาม สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์การบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการวิจัย แล้วน าไปตรวจสอบค่าดัชนีความเที่ยงตรงของ ข้อค าถาม

1.3 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

1.4 วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ ในการบริหารสถานศึกษา สู่โรงเรียนพระราชทานขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้างานวิชาการ สถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ านวน 7,072 แห่ง โรงเรียนละ 2 คน คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้างานวิชาการ

จ านวน 14,114 คน

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้างานวิชาการ สถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โรงเรียนละ 2 คน คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้างานวิชาการ จ านวน 374 คน โดยผู้วิจัยได้

ด าเนินการก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามขั้นตอน ดังนี้

Garis besar

Dokumen terkait