• Tidak ada hasil yang ditemukan

การสังเคราะห์ตัวบ่งชี้ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา

ตัวบ่งชี้ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา

สถาบัน/หน่วยงาน

ความถี่

ส านักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา (2550) ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (2560) ส านักทดสอบทางการศึกษา (2560) กระทรวงศึกษาธิการ (2562)

1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์    3

2. ยึดหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม มีคุณธรรม จริยธรรม อุทิศตนในการปฏิบัติงาน และมีความเป็น

ประชาธิปไตย    3

3. ผู้บริหารมีผลงานโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ชัด    3 4. สร้างขวัญและก าลังใจแก่ครูและบุคลากร

ทางการศึกษาให้ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึง

และมีความพึงพอใจจากการบริหารงานของผู้บริหาร    3 5. สร้างระบบและจัดท าแผนเพื่อใช้พัฒนาการ

เปลี่ยนแปลงองค์กรให้เกิดประสิทธิผลสู่ความเป็นเลิศ

โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม     4

6. พัฒนาระบบแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน    3 7. ส่งเสริมคุณธรรม และค่านิยมที่ดีงามที่ชัดเจน

เป็นรูปธรรม    3

8. จัดสภาพแวดล้อมสวยงาม อาคารสถานที่ทุกแห่งมี

ความสะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ มั่นคง แข็งแรง อุปกรณ์และสิ่งอ านวยความสะดวกประจ าอาคารเรียน

มีปริมาณเพียงพอ     4

41 ตาราง 4 (ต่อ)

ตัวบ่งชี้ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา

สถาบัน/หน่วยงาน

ความถี่

ส านักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา (2550) ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (2560) ส านักทดสอบทางการศึกษา (2560) กระทรวงศึกษาธิการ (2562) 9. สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนกับนักเรียน

นักเรียนกับครู ครูกับผู้ปกครอง    3

10. ผู้บริหารสถานศึกษาด าเนินการจัดหาและพัฒนาสื่อ

เทคโนโลยีเพื่อใช้ในการเรียนการสอน    3

11. จัดระบบการด าเนินงาน/กิจกรรม โครงการพัฒนา คุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ นักเรียนได้รับ

ผลประโยชน์อย่างเต็มที่ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม    3 12. ขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพภายในสู่การปฏิบัติ

อย่างเข้มแข็ง    3

13. นิเทศ ก ากับ ติดตามขับเคลื่อนระบบประกัน คุณภาพภายในเพื่อให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนา

ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความพึงพอใจ    3

14. สถานศึกษามีการจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศ พื้นฐานของสถานศึกษาครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ระบบการใช้งานมีประสิทธิภาพ ง่ายและ

สะดวกรวดเร็ว ต่อการสืบค้นและการให้บริการ     4 15. พัฒนาการจัดการเรียนการสอน การเผยแพร่

แหล่งข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมในสถานศึกษาที่ส่งผล ถึงการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาหลากหลายวิธี

และน่าสนใจ     4

42 จากตาราง 4 สรุปได้ว่า ตัวบ่งชี้ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มีตัวบ่งชี้ดังนี้

1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์

2. ยึดหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม มีคุณธรรมจริยธรรม อุทิศตนในการปฏิบัติงาน และมีความเป็นประชาธิปไตย

3. ผู้บริหารมีผลงานโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ชัด

4. สร้างขวัญและก าลังใจแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึง และมีความพึงพอใจจากการบริหารงานของผู้บริหาร

5. สร้างระบบและจัดท าแผนเพื่อใช้พัฒนาการเปลี่ยนแปลงองค์กรให้เกิดประสิทธิผลสู่

ความเป็นเลิศ โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม

6. พัฒนาระบบแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 7. ส่งเสริมคุณธรรม และค่านิยมที่ดีงามที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม

8. จัดสภาพแวดล้อมสวยงาม อาคารสถานที่ทุกแห่งมีความสะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ มั่นคง แข็งแรง อุปกรณ์และสิ่งอ านวยความสะดวกประจ าอาคารเรียน มีปริมาณเพียงพอ

9. สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนกับนักเรียน นักเรียนกับครู ครูกับผู้ปกครอง 10. ผู้บริหารสถานศึกษาด าเนินการจัดหาและพัฒนาสื่อเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการเรียน การสอน

11. จัดระบบการด าเนินงาน/กิจกรรม โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มี

ประสิทธิภาพ นักเรียนได้รับผลประโยชน์อย่างเต็มที่ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม 12. ขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพภายในสู่การปฏิบัติ อย่างเข้มแข็ง

13. นิเทศ ก ากับ ติดตามขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อให้เกิดการปรับปรุง และพัฒนา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความพึงพอใจ

14. สถานศึกษามีการจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษาครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ระบบการใช้งานมีประสิทธิภาพ ง่ายและสะดวกรวดเร็ว ต่อการสืบค้นและ การให้บริการ

15. พัฒนาการจัดการเรียนการสอน การเผยแพร่แหล่งข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมใน สถานศึกษาที่ส่งผลถึงการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาหลากหลายวิธีและน่าสนใจ

4. ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 4.1 ความหมาย

นักวิชาการ นักการศึกษา ได้เสนอความหมายด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นส าคัญ ไว้ดังนี้

43 กระทรวงศึกษาธิการ (2544) ได้เสนอความหมายด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นส าคัญ หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่ได้จัดหรือด าเนินการให้สอดคล้องกับผู้เรียน

ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความสามารถทางปัญญา วิธีการเรียนรู้โดยบูรณาการคุณธรรม ค่านิยมอันพึงประสงค์ ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริง ได้พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์

ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองตามความถนัด ความสนใจด้วยวิธีการ กระบวนการ และแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริงทั้งในและนอกห้องเรียน มีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง ท าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตามมาตรฐานหลักสูตรที่ก าหนด

ทิศนา แขมมณี (2547) ได้เสนอความหมายด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นส าคัญ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นตัวตั้ง โดยค านึงถึงความเหมาะสม กับผู้เรียนและประโยชน์สูงสุดที่ผู้เรียนควรจะได้รับ และมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้

ผู้เรียนมีบทบาทส าคัญในการเรียนรู้ ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างตื่นตัวและได้ใช้

กระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ อันจะน าผู้เรียนไปสู่การเกิดการเรียนรู้ที่แท้จริง

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2550) ได้ให้เสนอความหมายของจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นส าคัญว่า หมายถึง แนวการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่

และสิ่งประดิษฐ์ใหม่โดยการใช้กระบวนการทางปัญญา (กระบวนการคิด) กระบวนการทางสังคม (กระบวนการกลุ่ม) และให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในการเรียน สามารถน าความรู้

ไปประยุกต์ใช้ได้ โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้อ านวยความสะดวกจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญต้องจัดให้สอดคล้องกับความสนใจ ความสามารถ และความถนัด เน้นการบูรณาการความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ ใช้หลากหลายวิธีการสอนหลากหลาย แหล่งความรู้สามารถพัฒนาปัญญาอย่างหลากหลาย คือ พหุปัญญารวมทั้งเน้นการวัดผลอย่าง หลากหลายวิธี

สรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่ได้จัดหรือด าเนินการให้สอดคล้องกับผู้เรียน โดยค านึงถึงความเหมาะสมกับ ความแตกต่างระหว่างบุคคล พัฒนากระบวนการคิด วิเคราะห์ ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และแสวงหา ความรู้ด้วยตนเองตามความถนัด ความสนใจด้วยวิธีการ กระบวนการ และแหล่งการเรียนรู้ที่

หลากหลายที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริงอันจะน าผู้เรียนไปสู่การเกิดการเรียนรู้ที่แท้จริง และเน้นการ บูรณาการความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ

4.2 ตัวบ่งชี้ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

นักวิชาการ นักการศึกษา ได้เสนอตัวบ่งชี้ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นส าคัญ ไว้ดังนี้

44 พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2550) ได้เสนอตัวบ่งชี้ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นส าคัญ ประกอบด้วย ค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้

สมดุลเหมาะสมกับวัย ความสนใจของผู้เรียนและความต้องการของสังคมด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย ใช้สื่อการเรียนรู้ และวิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมิน

ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2560) ได้ก าหนดตัวบ่งชี้

ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ประกอบด้วย 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การออกแบบ การจัดการเรียนรู้ 2) การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน 3) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

4) การน าผลการประเมินไปใช้

ส านักทดสอบทางการศึกษา (2560) ได้ก าหนดตัวบ่งชี้ด้านการจัดการเรียนรู้

ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ประกอบด้วย

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การใช้มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร รวมทั้งจุดประสงค์การเรียนรู้ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

รวมทั้งข้อมูลผลการวิเคราะห์นักเรียน ความเข้าใจนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นส าคัญส่งเสริมความสามารถในการอ่านเขียน การสื่อสาร การคิดค านวณ มีการมอบหมายงานที่หลากหลายและสร้างสรรค์ ทั้งงานรายบุคคล และงานกลุ่ม มีการก าหนดแนว ทางการวัดและประเมินผลรวมถึงการใช้สื่อได้สอดคล้องกับเป้าหมายและจุดเน้นที่สถานศึกษาก าหนด

การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้ง ในวิชาที่สอน และจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพตามแผนการสอนที่ออกแบบไว้มีการให้

เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติท างานเป็นกลุ่ม อภิปราย น าเสนองานด้วยวิธีการที่เหมาะสม และ

ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ให้เวลานักเรียนได้คิด ได้ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ได้สะท้อนความรู้ความเข้าใจในวิชาที่เรียน น าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวัน กระตุ้นให้นักเรียน กระตือรือร้นที่จะพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตนเองและใส่ใจ ใฝ่เรียนรู้ อดทนต่อการแสวงหาค าตอบ สร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวกและการยอมรับความแตกต่างทั้งด้านความคิดและด้านอื่น ๆ บูรณาการ การเรียนรู้กับกลุ่มวิชาอื่น ๆ และภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดการสอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนที่มีความ บกพร่องทางการเรียน เพิ่มพูนศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ และมีการจัดการชั้นเรียนที่ดี

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กระบวนการตรวจสอบผลการเรียนรู้

ของนักเรียนระหว่างเรียน โดยใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย มีการประเมินครอบคลุมทั้ง ด้านความรู้ความเข้าใจ การประยุกต์ใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และการคิดสร้างสรรค์ ทักษะ กระบวนการ และเจตคติ ก าหนดระยะเวลาประเมินให้นักเรียนทราบ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียน ทันทีหลังการประเมินเพื่อการปรับปรุงให้ดีขึ้น ให้นักเรียนมีโอกาสประเมินตนเอง ตลอดทั้งมีวิธีการ

Garis besar

Dokumen terkait