• Tidak ada hasil yang ditemukan

การศึกษาคุณภาพระบบสารสนเทศทีพัฒนาโดยผู้เชียวชาญ

ผู้เชียวชาญด้านต่าง ๆ มีหน้าทีทําการทดลองใช้ระบบสารสนเทศทีพัฒนาขึ นมาเพือ ประเมินคุณภาพของตัวโปรแกรม โดยตรวจสอบความถูกต้องของระบบงานการนําเข้าข้อมูล และ ผลลัพธ์ของระบบงานและให้คําแนะนําข้อผิดพลาดทีเกิดขึ น เพือนําไปปรับปรุงแก้ไขให้ระบบ สารสนเทศทีพัฒนาขึ น มีความถูกต้องและเหมาะสมในการปฏิบัติงานจริง

ออนไลน์ เพือพัฒนาและประเมินระบบสนับสนุนผู้ตรวจบทความออนไลน์ โดยใช้แนวทางการ พัฒนาระบบเครืองมือทีใช้ได้แก่ ภาษา PHP และ Java Script ใช้ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล สุชิรา โพธิ อ่วม (2546) ได้เสนอผลงานวิจัยเรือง การพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับการบริการ วารสารและโสตทัศนวัสดุของสํานักหอสมุดวิทยาลัยโยนก จังหวัดลําปาง มีวัตถุประสงค์เพือ พัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับลงรายการข้อมูลวารสาร การให้บริการยืม การตรวจสอบการ บอกรับและต่ออายุวารสาร พัฒนาโดยภาษา Visual Basic ระบบฐานข้อมูล Microsoft Access และซอฟต์แวร์ออกแบบรายงาน Crystal Report ผลการศึกษาพบว่าระบบทีพัฒนามีประสิทธิภาพ ผู้ใช้ระบบมีความพึงพอใจในด้านการออกแบบ ความสะดวกโดยเฉลียเกือบ 90% พีระพล ขุนอาสา (2545) ได้เสนองานวิจัยเรือง การพัฒนาระบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์บนอินเทอร์เน็ต โดย มีวัตถุประสงค์เพือพัฒนาระบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์บนอินเทอร์เน็ต ระบบนี สามารถนําไปใช้งาน กับการผลิตวารสารหรืองานทีเกียวข้องโดยทัวไปเพิมความสะดวกรวดเร็วให้กับผู้ใช้งานและ ลดจํานวนกระดาษทีถูกใช้งานในระบบวารสารโดยทัวไปลงได้ ซึงระบบนี ได้ทําการพัฒนาบน ระบบปฏิบัติการ Windows 2003 Server ใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล Microsoft SQL Server 2000 และใช้โปรแกรมภาษา ASP เป็นเครืองมือในการพัฒนา ผลการศึกษาพบว่าระบบมี

ประสิทธิภาพในระดับดี และสามารถทีจะนําไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วีระชัย เตชะวัชรีกุล (2545) ได้เสนอผลงานวิจัยเรือง การพัฒนารูปแบบบริการสารบาญวารสารใหม่ในลักษณะ อิเล็กทรอนิกส์ ของสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพือพัฒนารูปแบบบริการ สารบาญวารสารใหม่ในลักษณะอิเล็กทรอนิกส์ การดําเนินงานในการวิจัยได้พัฒนาฐานข้อมูลของ สารบาญวารสารใหม่ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ โดยออกแบบใช้โครงสร้างฐานข้อมูลโปรแกรม Microsoft Access กําหนดองค์ประกอบ และรูปแบบในการสืบค้นข้อมูลโดยใช้โปรแกรมชุดคําสัง คือ HTML ASP และ VB Script ทดลอง ใช้งานในระบบปฏิบัติการแม่ข่าย Windows NT ผลการศึกษาพบว่าผู้ใช้สามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล ได้โดยไม่มีข้อจํากัดในด้านสถานทีและเวลา และสามารถใช้ร่วมกับบริการจัดส่งเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ในระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ศิริชัย นามบุรีได้เสนองานวิจัยเรืองการพัฒนาระบบจัดการวารสารวิชาการอิเล็กทรอนิกส์

ออนไลน์:กรณีศึกษาวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

นอกจากนั น ยังมีซอฟต์แวร์ระบบบริหารจัดการวารสารอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ ประเภท ซอฟต์แวร์เปิด (Open Source) ทีพัฒนาขึ นเพือประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการวารสารออนไลน์

เผยแพร่บทความในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ระบบ Opens Journal Systems: OJS

( http://pkp.sfu.ca/ojs_download ) ของโครงการ Public Knowledge Project ซึงเป็นระบบบริหาร จัดการและเผยแพร่วารสารวิชาการออนไลน์ ซึงมีหน่วยงานทางการศึกษานํามาติดตั งกันอย่าง แพร่หลาย เพือบริหารจัดการวารสารออนไลน์ของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใน การพัฒนาระบบ โดยเฉพาะกรณีมีวารสารวิชาการทีตีพิมพ์ในหน่วยงานหลายเล่ม ความสามารถของ ระบบ OJS ได้แก่ สามารถติดตั งในหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กรและบริหารจัดการได้โดยอิสระ กองบรรณาธิการสามารถกําหนดความต้อง กลุ่มหัวเรือง กระบวนการประเมินบทความ รองรับการส่ง บทความและจัดการเนื อหาบทความออนไลน์ มีโมดูลพิเศษเสริมความสามารถ มีการจัดสารบัญ วารสารได้ รูปแบบการนําเสนอเนือหาขึ นอยู่กับความต้องการของผู้เขียน เช่น เป็นแบบ PDF, HTML ใช้ e-mail ในการตรวจสอบให้ข้อแนะนําในการประเมินบทความ เป็นต้น รวมทั งสามารถรองรับภาษา ต่าง ๆ ได้หลายภาษา และสามารถพัฒนาภาษาสําหรับผู้ใช้เพิมเติมได้ เช่น ภาษาไทย ทียังไม่มี

การพัฒนาขึ นใช้ในปัจจุบัน