• Tidak ada hasil yang ditemukan

สกลนคร

2. ขั้นศึกษาและวิเคราะห์

ความหมายขั้นศึกษาและวิเคราะห์

ส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2544) ได้ให้ความหมายของ ขั้นการศึกษาและวิเคราะห์ไว้ว่า ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเสนอกิจกรรม และลงมือปฏิบัติจริงทุกขั้นตอน ตลอดจนการสรุป ความรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ทั้งสมาชิกภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิธีการแสวงหาความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555) ได้ให้ความหมาย ของขั้นศึกษาและวิเคราะห์ในการจัดการกิจกรรมแบบ Active learning ไว้ว่า เป็นขั้นที่ท าความ เข้าใจในประเด็นหรือค าถามที่น่าสนใจจะศึกษาอย่างท่องแท้แล้ว มีการวางแผนก าหนดแนวทาง ส ารวจตรวจสอบตั้งสมมติฐาน จากนั้นท าการศึกษาวิเคราะห์ความรู้โดยผู้เรียน มีครูเป็นบุคคลที่ช่วย ในการจัดกิจกรรมโดยการเป็นผู้ช่วยให้ค าปรึกษา

กล่าวโดยสรุป ขั้นการศึกษาและวิเคราะห์ในการจัดการกิจกรรมแบบ Active learning หมายถึง ครูเป็นส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเสนอกิจกรรม ท าความเข้าใจในประเด็นหรือค าถามที่น่าสนใจจะ ศึกษาอย่างท่องแท้แล้ว มีการวางแผนก าหนดแนวทางส ารวจตรวจสอบตั้งสมมติฐาน จากนั้น ท าการศึกษาวิเคราะห์ความรู้โดยผู้เรียนและลงมือปฏิบัติจริงทุกขั้นตอน

ความส าคัญขั้นศึกษาและวิเคราะห์

ส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2544) ได้ให้ความส าคัญของ ขั้นการศึกษาและวิเคราะห์ไว้ว่า ครูเป็นบุคคลที่ส าคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยส่งเสริมให้

53 ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเสนอกิจกรรม และลงมือปฏิบัติจริงทุกขั้นตอน ตลอดจนการสรุปความรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการ แสวงหาความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555) ได้ให้ความส าคัญ ของขั้นศึกษาและวิเคราะห์ในการจัดการกิจกรรมแบบ Active learning ไว้ว่า เป็นขั้นที่ท าความ เข้าใจในประเด็นหรือค าถามที่น่าสนใจจะศึกษาอย่างท่องแท้ท าให้นักเรียนสามารถศึกษา และวิเคราะห์ท าให้เกิดความรู้ที่สร้างจากภายในได้ด้วยตอนเอง

กล่าวโดยสรุป ขั้นการศึกษาและวิเคราะห์มีความส าคัญที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเสนอกิจกรรม ท าความเข้าใจในประเด็นหรือค าถามที่น่าสนใจจะศึกษาอย่างท่องแท้แล้ว มีการวางแผนก าหนด แนวทางส ารวจตรวจสอบตั้งสมมติฐาน จากนั้นท าการศึกษาวิเคราะห์ความรู้โดยผู้เรียนและลงมือ ปฏิบัติจริงทุกขั้นตอน

วิธีการในขั้นตอน ศึกษาและวิเคราะห์

ส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2544) ได้ให้วิธีการขั้นตอน การศึกษาวิเคราะห์ ไว้ว่า ครูเป็นบุคคลที่ส าคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเสนอกิจกรรม และลงมือปฏิบัติจริงทุกขั้นตอน ตลอดจนการสรุปความรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์

ทั้งสมาชิกภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการแสวงหาความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555) ได้ให้วิธีการ ในขั้นการศึกษาวิเคราะห์ ไว้ว่า

1. ครูส่งเสริมให้นักเรียนท างานร่วมกันในการศึกษา วิเคราะห์

2. ซักถามนักเรียนเพื่อน าไปสู่การศึกษาและวิเคราะห์

3. สังเกตและรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน 4. ให้ข้อเสนอแนะ ค าปรึกษาแก่นักเรียน

5. ให้ก าลังใจและเสนอประเด็นที่ชี้แนะแนวทางน าไปสู่การศึกษา และวิเคราะห์

6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ท าการศึกษา วิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม 7. ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม แก่นักเรียน

กล่าวโดยสรุปวิธีการในขั้นตอนการศึกษาและวิเคราะห์ เป็นขั้นครูเป็นผู้ส่งเสริม ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลข้อมูล น าเสนอและอภิปรายผล ซักถามนักเรียนเพื่อน าไปสู่

การศึกษาและวิเคราะห์ สังเกตและรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน ให้ข้อเสนอแนะ ค าปรึกษาแก่

54 นักเรียน ให้ก าลังใจและเสนอประเด็นที่ชี้แนะแนวทางน าไปสู่การศึกษาและวิเคราะห์ ส่งเสริมให้

นักเรียนได้ท าการศึกษา วิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการกลุ่มรวมทั้งให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ ทั้งสมาชิก ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการแสวงหาความรู้ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม แก่นักเรียน

3. ขั้นฝึกหัด/ปฏิบัติ/ทดลอง

ความหมายขั้นฝึกหัด ปฏิบัติทดลอง

ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550) ได้ให้ความหมายของขั้นฝึกหัด/

ปฏิบัติ/ทดลองในการจัดการกิจกรรมแบบ Active learning ไว้ว่า เป็นขั้นที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม เขียนรายงานสรุปที่เกิดขึ้นจากการศึกษาและวิเคราะห์ร่วมกัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555) ได้ให้ความหมาย ของขั้นฝึกหัด/ปฏิบัติ/ทดลองในการจัดการกิจกรรมแบบ Active learning ไว้ว่า เมื่อผู้เรียน ท าความเข้าใจในประเด็นหรือค าถามที่น่าสนใจจะศึกษาอย่างท่องแท้แล้ว มีการวางแผนก าหนด แนวทางส ารวจตรวจสอบตั้งสมมติฐาน ก าหนดแนวทางที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวม ข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ วิธีการตรวจสอบอาจทาได้หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง ท ากิจกรรมภาคสนามการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อใช้สร้างสถานการณ์จ าลอง (Simulation) การศึกษา ข้อมูลจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อได้มาซึ่งข้อมูลที่เพียงพอที่จะใช้ในขั้นต่อไป

กล่าวโดยสรุป ขั้นฝึกหัด/ปฏิบัติ/ทดลองในการจัดการกิจกรรมแบบ Active Learning หมายถึง ขั้นที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม เขียนรายงานสรุปที่เกิดขึ้นจากการศึกษา

และวิเคราะห์ร่วมกัน เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ วิธีการตรวจสอบ อาจท าได้หลายวิธี เช่น ท าการทดลอง ท ากิจกรรมภาคสนามการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อใช้สร้าง สถานการณ์จ าลอง (Simulation) การศึกษาข้อมูลจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูลต่างๆ

ความส าคัญของขั้นฝึกหัด ปฏิบัติทดลอง

ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550) ได้ให้ความส าคัญของขั้นฝึกหัด/

ปฏิบัติ/ทดลองในการจัดการกิจกรรมแบบ Active Learning ไว้ว่า เป็นขั้นที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม เขียนรายงานสรุปที่เกิดขึ้นจากการศึกษาและวิเคราะห์ร่วมกันท าให้นักเรียนเกิดความรู้จากการฝึก ปฏิบัติและทดลอง ขั้นนี้จะท าให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ การค้นพบในขั้นนี้อาจเป็นไปได้

หลายทาง เช่น สนับสนุน สมมติฐาน แต่ผลที่ได้จะอยู่ในรูปแบบใดก็สามารถสร้างความรู้

และช่วยนักเรียนได้เกิดการเรียนรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555) ได้ให้ความส าคัญ ของขั้นฝึกหัด/ปฏิบัติ/ทดลองในการจัดการกิจกรรมแบบ Active Learning ไว้ว่า เป็นขั้นตอนที่ให้

55 ผู้เรียนคิดอย่างอิสระแต่อยู่ในขอบเขตของกิจกรรมการทดลอง ท าให้เกิดทักษะในกระบวนการที่

ผู้เรียนก าลังศึกษาอยู่

กล่าวโดยสรุป ความส าคัญของขั้นฝึกหัด/ปฏิบัติ/ทดลอง เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียน คิดอย่างอิสระแต่อยู่ในขอบเขตของกิจกรรมการทดลอง ท าให้เกิดทักษะในกระบวนการที่ผู้เรียนก าลัง ศึกษาอยู่ ขั้นนี้จะท าให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ การค้นพบในขั้นนี้อาจเป็นไปได้หลายทาง เช่น สนับสนุน สมมติฐาน แต่ผลที่ได้จะอยู่ในรูปแบบใดก็สามารถสร้างความรู้ และช่วยนักเรียนได้เกิด การเรียนรู้

วิธีการ/ขั้นตอนขั้นฝึกหัด/ปฏิบัติ/ทดลอง

ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550) ได้ให้วิธีการ/ขั้นตอนขั้นฝึกหัด/

ปฏิบัติ/ทดลอง ในการจัดการกิจกรรมแบบ Active learning ไว้ว่า ครูส่งเสริมให้นักเรียนที่ได้ได้ข้อมูล มาแล้ว น าข้อมูลเหล่านั้นมาท าการวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และน าเสนอผลที่ได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างแบบจ าลอง รูปวาด ตาราง กราฟ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนเห็นแนวโน้ม หรือความสัมพันธ์ของข้อมูล สรุปและอภิปรายผลการทดลอง โดยอ้างอิงประจักษ์พยานอย่างชัดเจน เพื่อน าเสนอแนวคิดต่อไป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555) ได้ให้วิธีการ/

ขั้นตอนขั้นฝึกหัด/ปฏิบัติ/ทดลองไว้ว่า วิธีการที่ครูจะใช้ในขั้นฝึกหัด ปฏิบัติและทดลองมีดังนี้

1. ส่งเสริมให้นักเรียนได้คิดและลงมือปฏิบัติอย่างอิสระ

2. ส่งเสริมให้นักเรียนปฏิบัติ ตามความคิดรวบยอดและความเข้าใจของตัวเอง และกลุ่ม

3. ส่งเสริมให้นักเรียนลงมือ เลือกวิธีการปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม 4. ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถจับประเด็นที่ส าคัญจากปรากฏการณ์ได้

5. ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถอธิบายความคิดรวบยอด

กล่าวโดยสรุปวิธีการ/ขั้นตอนขั้นฝึกหัด/ปฏิบัติ/ทดลอง เป็นขั้นที่ ขั้นตอนที่

ผู้เรียน ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ และผู้สอนมีวิธีการที่

ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดและลงมือปฏิบัติอย่างอิสระ ปฏิบัติตามความคิดรวบยอดและความเข้าใจของ ตัวเอง และกลุ่ม ส่งเสริมให้ผู้เรียนลงมือ เลือกวิธีการปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม สามารถจับประเด็นที่

ส าคัญจากปรากฏการณ์ได้และส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความคิดรวบยอดได้

4. ขั้นสรุป/เสนอผลการเรียนรู้

ความหมายของขั้นสรุป/เสนอผลการเรียนรู้

ส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2544) ได้ให้ความหมาย ขั้นสรุป/เสนอผลการเรียนรู้ของการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning ไว้ว่า เป็นการน าองค์ความรู้