• Tidak ada hasil yang ditemukan

ช่วยในการก าหนดแผนพัฒนาความสามารถส่วนบุคคล

สกลนคร

1. ผลการเรียนในโรงเรียนไม่ได้ท านายผลส าเร็จในการประกอบอาชีพ

3.6.2 ช่วยในการก าหนดแผนพัฒนาความสามารถส่วนบุคคล

3.7 การบริหารผลตอบแทน (Compensation) สมรรถนะมีประโยชน์ในการ บริหารผลตอบแทน ดังนี้

27 3.7.1 ช่วยในการก าหนดอัตราว่าจ้างพนักงานใหม่ว่าควรจะได้รับ

ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับระดับความสามารถไม่ใช่ก าหนดอัตราจ้างเริ่มต้นด้วยวุฒิการศึกษาเหมือน อดีตที่ผ่านมา

3.7.2 ช่วยในการจ่ายผลตอบแทนตามระดับความสามารถที่เพิ่มขึ้น ไม่ใช่จ่ายผลตอบแทนตามอายุงานหรือจ านวนปีที่ผ่านมาที่เพิ่มขึ้นเหมือนสมัยก่อน

แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะครู

สาโรช บัวศรี (2526) ได้ให้แนวคิดสมรรถนะครูไว้ว่า เป็นความสามารถในการ ท าการสอนได้อย่างดี รู้จักจิตวิทยา รู้วิธีสอน รู้สิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการสอน สามารถปกครอง แนะน าและอบรมลูกศิษย์ได้มีความสามารถในการท ากิจกรรมของโรงเรียนได้ มีความสามารถในการ ติดต่อกับคนในชุมชนได้ สามารถเป็นครูขั้นอาชีพได้คือ สามารถที่จะกล่าวอธิบาย โต้เถียง

และเขียนเกี่ยวกับอาชีพได้

พนัส หันนาคินทร์ (2542) ได้ให้แนวคิดสมรรถนะครูไว้ว่า ครูควรมีสมรรถนะด้าน ความประพฤติดี มีสติปัญหาสูง สุขภาพทางกายและทางจิตดี บุคลิกภาพดีมีความตรงต่อเวลา มีเจตคติที่ดีต่อนักเรียน และมีความสามารถในการพูด สมรรถนะทางงานอาชีพ คือ ควรมีความรู้

ในวิชาที่สอน มีความรู้ในวิธีสอน ตลอดจนวิธีการประเมินผล มีความคิดริเริ่ม และมีความสนใจต่องาน อาชีพ มีความสามารถในการด าเนินการสอน คือ มีความสามารถที่จะปรับบทเรียนให้เข้ากับนักเรียน มีความสามารถที่จะเข้าใจนักเรียน และมีความสามารถในการด าเนินการสอนในชั้นเรียน ครูควรมี

สมรรถนะในการท างานร่วมกับผู้อื่น รู้จักให้ความร่วมมือกับนักเรียน คณะครูผู้ปกครอง

ตลอดจนบุคคลภายนอก ครูต้องมีสมรรถนะแห่งความเมตตาปราณีโดยสรุปสมรรถนะส าคัญของครู

คือ ความรู้ ความสามารถในด้านการสอน รักในวิชาชีพครู มีเจตคติที่ดีต่อนักเรียน มีคุณธรรม จริยธรรมสูง ใส่ใจดูแลศิษย์อยู่เสมอ สามารถปรับตัวและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ

สมรรถนะของการปฏิบัติงานครู

Haberman และ Stinnetl (1973) ได้ให้สมรรถนะของการปฏิบัติงานครูไว้ ดังนี้

1. ทักษะของผู้ที่จะเป็นครู ผู้ที่จะประกอบอาชีพครูจะต้องมีทักษะในด้านวิธีการสอน และมีความรู้ในเนื้อหาวิชาที่จะสอนเป็นอย่างดี การสอนแบบจุลภาพเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่จะช่วย ฝึกฝนให้ครูมีลักษณะตามต้องการ

2. จริยธรรมและค่านิยมของผู้ที่จะเป็นครูเป็นสิ่งส าคัญอย่างยิ่ง เพราะค่านิยมของครู

จะเป็นเครื่องก าหนดแนวทางความประพฤติ และการวางตัวของครูในอนาคต

3. มโนทัศน์ หรือความคิดรวบยอด ผู้ที่จะประกอบอาชีพครูควรที่จะเลือกเรียนรู้

มโนทัศน์ที่ส าคัญที่เป็นประโยชน์ในการท างานมากกว่าที่จะเรียนรู้ทุกสิ่งทุกอย่างอย่างกว้างขวาง

28 4. จิตวิทยาพัฒนาการ ครูจะต้องรู้ และสามารถอธิบายเกี่ยวกับพัฒนาการทาง ร่างกายอารมณ์ และสังคมของกลุ่มเด็กที่ตนจะต้องสอนเป็นอย่างดี

5. สิ่งแวดล้อมทางสังคม ผู้ที่จะประกอบอาชีพครูจะต้องรู้ และเข้าใจถึงความกดดัน ทางสังคมที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก ดังนั้นครูจะต้องเรียนรู้วิชาสังคมวิทยา และมนุษย์วิทยาทางการศึกษา ด้วย

6. หลักการเรียนรู้ ความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้นับได้ว่าเป็นเรื่องที่มี

ความส าคัญเป็นอย่างยิ่ง ครูจะต้องรู้ว่าโดยทั่วไปธรรมชาติของผู้เรียนที่จะเรียนรู้เป็นอย่างไร 7. ครูจะต้องรอบรู้ในหลักวิธีการสอนในสาขาวิชาที่ตนจะสอน

8. ผู้ที่จะประกอบอาชีพครูจะต้องมีปรัชญาของตนเอง เข้าใจมโนทัศน์เกี่ยวกับตน ควบคู่ไปกับการเข้าใจในตัวผู้เรียน

9. ครูจะต้องเข้าใจหลักปรัชญาสากลที่กล่าวไว้ว่า “ไม่มีสิ่งหนึ่งสิ่งใดถาวรมั่นคง ตลอดกาลทุก ๆ สิ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา” ครูต้องพยายามปรับตัวให้เข้ากับ

ความเปลี่ยนแปลงในเรื่องหลักสูตร และวิธีสอน

Scriven (1991) ได้ให้สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูไว้ ดังนี้

1. ครูควรมีความรู้ในเนื้อหาวิชาที่ตนจะสอน ซึ่งเป็นความสามารถของครูที่จะต้องมี

ความรู้ในเนื้อหาวิชาเฉพาะที่ตนเองรับผิดชอบในการสอน โดยพิจารณาได้จากการศึกษาของครูในวิชา นั้น ๆ ซึ่งอาจเป็นการศึกษาในระบบ หรือการที่ครูเข้ารับการอบรมเพิ่มเติมในภายหลังก็ได้

นอกจากนี้ครูควรมีความรู้ในวิชาอื่น ๆ ที่อยู่ในหลักสูตรด้วย ทั้งนี้เพื่อที่จะช่วยให้ครูสามารถจัด กิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

2. ครูควรมีทักษะการสอน ซึ่งประกอบด้วยทักษะที่ส าคัญหลายประการที่เกี่ยวข้อง กับการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนการสอน การควบคุมชั้นเรียน และนักเรียน การกระตุ้นให้นักเรียนมีความพยายามในการศึกษาเล่าเรียน เพื่อเสาะหาความก้าวหน้า อยู่เสมอ และการจัดการในกรณีที่มีเหตุการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงเกิดขึ้น ในส่วนของครูเองก็ต้องเพิ่มทักษะ ในการสร้าง และพัฒนาวิชาโดยมีการวางแผนรายวิชา การคัดเลือก และการสร้างสรรค์วัสดุอุปกรณ์

รวมทั้งใช้แหล่งทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ การใช้สื่อการเรียนการสอน และผู้เชี่ยวชาญให้เป็นประโยชน์ต่อการสอนในรายวิชาที่ตนสอน ตลอดจนต้องมีทักษะ ในการประเมินผลในวิชาที่สอน

3. ครูควรมีทักษะในการประเมินที่ส าคัญคือ ความรู้เกี่ยวกับการประเมินผู้เรียน การสร้างและการบริหารการสอบ การให้เกรด การจัดล าดับ การให้คะแนน ทั้งในรายละเอียดของ กระบวนการและการแสดงผลการประเมินได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมทั้งแนวปฏิบัติในการรายงาน

29 ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ความรู้เกี่ยวกับการรายงานผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียน ผู้บริหารและผู้ปกครอง หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง

4. ครูต้องเป็นผู้ที่แสดงตนได้ว่าเป็นผู้ที่มีลักษณะของผู้ที่มีความเป็นครู อันได้แก่

การมีจริยธรรมในวิชาชีพ ความมีทัศนคติที่ดีในวิชาชีพ มีความรู้ในหน้าที่ของครูมีความสามารถ ในการพัฒนาวิชาชีพ

ส านักงานเลขาธิการคุรุสภา (2549) ได้ให้มาตรฐานความรู้และสมรรถนะของครูไว้ ดังนี้