• Tidak ada hasil yang ditemukan

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

5.3 ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย

1. ควรมีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝากชุมชน จังหวัดระนอง สร้างกลุ่มเครือข่ายในการสื่อสาร และให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องต่างๆ

2. ควรมีหน่วยงานของภาครัฐเข้ามาดูแลและจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ ร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝากชุมชน จังหวัดระนอง ในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ จัดการร้านจ าหน่ายสินค้าอยู่เสมอ เพื่อให้ผู้ประกอบการได้รับความรู้ใหม่ และสามารถน าความรู้

นั้นไปปรับประยุกต์ใช้ในกิจการร้านจ าหน่ายสินค้าของตนเอง

3. ควรมีการมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาอบรมหรือช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์

สินค้า OTOP และของฝากชุมชน จังหวัดระนอง ให้ได้มาตรฐาน และได้รับการรับรอง อย. จาก ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา

4. หน่วยงานทางภาครัฐควรจัดสรรงบประมาณในการจัดแหล่งเรียนรู้ให้เป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้ชุมชน เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP และของฝากชุมชน ของ จังหวัดระนองโดยเฉพาะ

ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป

1. ควรมีการศึกษากระบวนการด าเนินการร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝาก ชุมชน จังหวัดระนอง

2. ควรมีการศึกษารูปแบบการสื่อสารการตลาดของผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP และของ ฝากชุมชน จังหวัดระนอง

รายการอ้างอิง

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2546). ข้อมูลจังหวัดระนอง. (Online) :

http://thai.tourismthailand.org/where-to-go/cities-guide/destination/ranong/ (สืบค้นเมื่อ วันที่ 5 ธันวาคม 2554)

คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ส านักงาน. (2551). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545 – 2549. (Online) :

http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=91 (สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2554).

จาริตา หินเธาว์, กันยารัตน์ สุขวัธนกุล และคณะ. (2552). การจัดการผลิตภัณฑ์ OTOP กรณีศึกษา : กลุ่มแม่บ้านสามัคคีพัฒนา บ้านถ ่าเต่า หมู่ 1 ต าบลสามัคคีพัฒนา อ าเภออากาศอ านวย จังหวัดสกลนคร. คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จิรพรรณ พรหมลิขิตชัย และลลนา เทพวรรณ์. (2549). การศึกษาสถานการณ์ความเสี่ยงต่อ พฤติกรรมผู้บริโภคอาหาร จังหวัดระนอง. (online).

http://foodsan.anamai.moph.go.th/download/order49/rranong.doc (สืบค้นเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2555)

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2551). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ชวัลนุช สินธรโสภณ. (2553). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเลือกใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ในเขตกรุงเทพมหานคร. สาขาวิชาการประกอบการ คณะโบราณคดี

มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2546). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ : ส.เอเชียเพรส จ ากัด.

ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2547). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็นยูเคชั่น.

ชุลีวรรณ สมัครพงศ์ . (2548). การตลาดของสินค้า OTOP ในจังหวัดสงขลา : กรณีศึกษากลุ่ม สินค้าหัตถกรรม. สาขาการจัดการธุรกิจเกษตร คณะเกษตรศาสตร์

มหาาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. (2541). การศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจชุมชน. กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษา เศรษฐศาสตร์การเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดีเจริญ มาร์เก็ต ช๊อป. (2555). การจัดตกแต่งร้านค้าและการจัดวางสินค้า. (Online) :

http://www.dcharoenshop.com/index.php/article/1-2010-06-06-13-42-20/68-organized- shops-and-product-placement.html (สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2555).

ไทยต าบลดอทคอม (ThaiTambon.com). (2542). โครงการหนึ่งต าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์. (Online) : http://www.thaitambon.com/ (สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2554)

ธวัชชัย กฤติยาภิชาตกุล. (2547). ร้อยเรื่องเมืองพานิชย์. กรุงเทพฯ : สันติภาพ พริ้นท์.

ธีรพันธ์ โล่ห์ทองค า. (2544). Strategic IMC: กลยุทธ์สื่อสารการตลาดแบบครบวงจร. กรุงเทพฯ : ออฟเซ็ทครีเอชั่น.

ปราณี เอี่ยมละออ. (2551). การบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ :ธนาเพลส จ ากัด.

พนารัตน์ บุญธรรม. (2552). รูปแบบการจัดการสินค้า OTOP ประเภทของใช้ ของตกแต่ง และ ของที่ระลึกในเชิงธุรกิจ กรณีศึกษา กลุ่มอาชีพท าเครื่องทองเหลือง 2 บ้านปะอาว หมู่ที่ 5 ต าบลปะอาว อ าเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. สาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.

พิบูล ทีปะปาล. (2545). การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย. กรุงเทพฯ : มิตรสัมพันธ์กราฟฟิก.

วารุณี ตันติวงศ์วาณิช. (2545). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศิริเกษ มาลาวงษ์. (2552). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผักปลอดสารพิษในเขต กรุงเทพมหานคร. สาขาวิชาวิทยาการสังคมและการจัดการระบบสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิรินภา สระทองหน. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม และความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อ การใช้บริการร้านวัตสัน ในเขตกรุงเทพมหานคร. สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.

สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2547). นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน กรณี

โครงการหนึ่งต าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์. (Online) : www.ryt9.com/s/ryt/161749 (สืบค้นเมื่อ วันที่ 5 ธันวาคม 2554).

สมควร กวียะ. (2547). การประชาสัมพันธ์ใหม่. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

สุพรรณี อินทร์แก้ว. (2549). การตลาดธุรกิจบริการเฉพาะอย่าง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนเพลส.

สุวัฒน์ นิลด า. (2553). การศึกษาการด าเนินงานวิสาหกิจชุมชน ร้านจ าหน่ายสินค้า ศูนย์บริการ ทางหลวงเขาโพธิ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. สาขาวิชาพัฒนาชนบทศึกษา คณะศิลปศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหิดล.

อุษณีย์ มากประยูร. (2551). สภาพและปัญหาการสื่อสารการตลาดของธุรกิจหนึ่งต าบล หนึ่ง ผลิตภัณฑ์ ในจังหวัดอุตรดิตถ์. สาขานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2547). เทคนิคการสร้างภาพลักษณ์ของตนเองด้วยกลยุทธ์การตลาด.

(online). http://www.hrcenter.co.th/column_detail.php?column_id=324&page=1 (สืบค้น เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2555)

อภิสิทธิ์ พวงประเสริฐ. (2547). การน านโยบายหนึ่งต าบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไปปฏิบัติ : กรณีศึกษา

“เครื่องปั้นดินเผา” ต าบลเกาะเกร็ด อ าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. คณะรัฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยรามค าแหง.

McCarthy, E. J., and Perreault, W. D., Jr. (1996). Basic marketing: A global managerial approach (12th ed.). Chicago : Irwin.

Kotler, P. (1999). Kotler on marketing : How to create, win, and dominate market. New York : The Free Press.