• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไปของผู้ประกอบการ และรูปแบบการ จัดการธุรกิจของร้านหน่ายสินค้า OTOP และของฝากชุมชน จังหวัดระนอง และการพัฒนารูปแบบ และมาตรฐานการจัดการธุรกิจที่เหมาะสม เพื่อน าไปเป็นต้นแบบการจัดการร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝากชุมชน จังหวัดระนอง ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิจัย โดยมีรายละเอียดของ วิธีด าเนินการวิจัย ดังนี้

3.1 ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง

ประชากรที่ใช้ในศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ

ผู้ประกอบการธุรกิจร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝากชุมชน และลูกค้าที่เข้ามาซื้อ สินค้าและบริการในร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝากชุมชน จังหวัดระนอง

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ก าหนดกลุ่มตัวอย่าง คือ

1. ผู้เชี่ยวชาญภาครัฐและเอกชน จังหวัดระนอง โดยผู้วิจัยได้ก าหนดกลุ่มตัวอย่าง คือ อดีตประธานหอการค้าจังหวัดระนอง อดีตนายกสมาคมธุรกิจท่องเที่ยวจังหวัดระนอง และ วัฒนธรรมจังหวัดระนอง

2. ผู้ประกอบการธุรกิจร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝากชุมชน โดยผู้วิจัยท า การก าหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จากร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝากชุมชน ภายในเขตอ าเภอเมือง จังหวัดระนอง เนื่องจากผู้วิจัยเห็นว่า เมื่อค านึงถึง ประเด็นความต้องการที่จะได้รับการพัฒนาเชิงเปรียบเทียบในระดับพื้นที่แล้ว ผู้ประกอบการจ าเป็น ที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือจากภายนอกในการพัฒนามากกว่าผู้ประกอบการในเขตพื้นที่อ าเภอ อื่นๆ ซึ่งเป็นพื้นที่นอกเมืองที่มีสถานที่ท่องเที่ยวส าคัญ ท าให้ผู้ประกอบการมีการปรับตัวในการ ด าเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่องตามกลไกการเจริญเติบโตของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในพื้นที่

6 ร้าน เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์เชิงลึก

3. ลูกค้าที่เข้ามาซื้อสินค้าและบริการในร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP ของฝากชุมชน จังหวัดระนอง ตามการก าหนดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในข้อ 2 จ านวน 400 คน เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล ระดับความพึงพอใจของลูกค้าในการซื้อสินค้าของจังหวัดระนองด้วยแบบสอบถาม

วิธีการคัดเลือกตัวอย่างในงานวิจัย

ส าหรับผู้เชี่ยวชาญภาครัฐและเอกชน และผู้ประกอบการร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และ ของฝากชุมชน จังหวัดระนอง ผู้วิจัยจะท าการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) ทั้งนี้เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่เหมาะสมในการพัฒนามากที่สุด

และในส่วนของการสอบถามลูกค้าที่เข้ามาซื้อสินค้าและบริการ ผู้วิจัยได้ใช้กลุ่มลูกค้าที่เข้า มาซื้อสินค้าจากร้านของผู้ประกอบการที่ใช้ในการสัมภาษณ์ จ านวน 6 ร้าน โดยเก็บแบบสอบถาม จ านวน 400 ชุด

ตารางที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย

กลุ่มตัวอย่าง จ านวน/คน กิจกรรม

1. ลูกค้าที่มาเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ OTOP 400 คน สอบถามระดับความพึงพอใจ ของลูกค้าที่ด้วยแบบสอบถาม 2. ผู้เชี่ยวชาญภาครัฐและเอกชน

- อดีตประธานหอการค้าจังหวัดระนอง - อดีตนายกสมาคมธุรกิจท่องเที่ยว จังหวัดระนอง

- วัฒนธรรมจังหวัดระนอง

3 คน สัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับ รูปแบบ การบริหารจัดการร้านค้าที่

เหมาะสม

3. ผู้ประกอบการร้านค้า OTOP (6 ร้าน) - ร้านวัชรี

- ร้านไข่มุกรักษ์วาริน - ร้านมุกระนอง - ร้านระนองของฝาก - ร้านบังระนองธานี

- ร้านนารีรัตน์

6 คน สัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับรูปแบบ การบริหารจัดการร้านจ าหน่าย สินค้า OTOP และของฝาก ชุมชน

3.2 ขั้นตอนการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล

1. ศึกษาในประเด็นรูปแบบและมาตรฐานการจัดการร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP/ ของฝาก ชุมชน จากต ารา เอกสาร และข้อมูลงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

2. ก าหนดประเด็นในการสร้างแบบสอบถามลูกค้าที่เข้ามาซื้อสินค้าของจังหวัดระนอง เพื่อศึกษาให้ได้ข้อมูลความพึงพอใจของลูกค้า และสร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์

3. ก าหนดประเด็นในการสัมภาษณ์เกี่ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการร้านค้าที่เหมาะสม โดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้รูปแบบการบริหาร จัดการส าหรับผู้ประกอบการในพื้นที่จังหวัดระนอง

4. จัดท าแบบสัมภาษณ์ส าหรับผู้ประกอบการในพื้นที่ โดยก าหนดประเด็นต่างๆ ใน แบบสอบถามจากรูปแบบบริหารจัดการที่ได้รับในข้อ 2) เพื่อศึกษาถึงลักษณะทั่วไปของ ผู้ประกอบการ และสภาพการบริหารจัดการร้านค้าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ปัญหาและอุปสรรค ตลอดจนล าดับความต้องการก่อนหลังในการพัฒนา

5. น าข้อมูลที่ได้ทั้งจากแบบสอบถามลูกค้า การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทั้งภาครัฐและเอกชน และการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการร้านจ าหน่ายสินค้า มาวิเคราะห์ผลที่ได้รับ และน ามาก าหนดเป็น ประเด็นเพื่อเสนอข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้

1. แบบสอบถาม ผู้วิจัยด าเนินการเก็บข้อมูลลูกค้าที่มาซื้อสินค้าของผู้ประกอบการร้าน จ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝากชุมชน จังหวัดระนอง ที่ใช้ในการสัมภาษณ์และประชุมกลุ่มย่อย จ านวน 6 ร้าน โดยผู้วิจัยมีผู้ช่วยวิจัยในการแจกแบบสอบถามลูกค้าและรับกลับคืน

2. แบบสัมภาษณ์ ผู้วิจัยท าการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญภาครัฐและเอกชน จ านวน 3 ท่าน และผู้ประกอบการร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝากชุมชน จังหวัดระนอง จ านวน 6 ท่าน ด้วยตนเอง

3. การประชุมกลุ่มย่อยผู้ประกอบการทั้ง 6 ร้าน เพื่อหาแนวคิดในการก าหนดหัวข้อใน การจัดฝึกอบรมให้แก่ผู้ประกอบการ และหลังจากนั้นด าเนินการฝึกอบรมให้แก่ผู้ประกอบการร้าน จ าหน่ายสินค้า โดยผู้วิจัยได้ประสานงานกับผู้ประกอบการร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP และของฝาก ชุมชน ทั้ง 6 ร้าน รวมถึงผู้เชี่ยวชาญภาครัฐและเอกชนมาเป็นวิทยากรในการฝึกอบรม

3.4 ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล

หลังจากผู้วิจัยได้ท าการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้

1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ผู้วิจัยน าข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามลูกค้ามาวิเคราะห์

โดยการหาร้อยละของค าตอบใน ตอนที่ 1 และตอนที่ 3 และน าเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบ ความเรียง และในส่วนของตอนที่ 3 ของแบบสอบถาม ผู้วิจัยได้น าเสนอข้อมูลตอนที่ 1 และ 2 ใน รูปของร้อยละ และน าเสนอในรูปตารางประกอบความเรียน ข้อมูลตอนที่ 2 ผู้วิจัยน าเสนอข้อมูลใน รูปเปอร์เซ็นต์ (%) ตามประเด็นระดับความพึงพอใจในการซื้อสินค้าของจังหวัดระนอง และ น าเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบความเรียง โดยมีการหาค่าเฉลี่ยประกอบความเรียง

2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยน าข้อมูลที่ได้จากแบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทั้ง ภาครัฐและเอกชน การสัมภาษณ์ผู้ประกอบการร้านจ าหน่ายสินค้า การประชุมกลุ่มย่อยและการ ฝึกอบรมผู้ประกอบการร้านจ าหน่ายสินค้า น าข้อมูลมาท าการวิเคราะห์โดยการน าข้อมูลมาสรุปรวม เรียบเรียง แยกค าตอบให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อสรุปเป็นข้อมูลเชิงบรรยายในด้านต่างๆ

ตารางที่ 4 ระยะเวลาท าการวิจัย และแผนการด าเนินงานตลอดโครงการวิจัย

กิจกรรม วิธีการ กลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์

1. การศึกษาข้อมูล เบื้องต้น

ศึกษารายละเอียด รูปแบบและมาตรฐาน การจัดการร้านจ าหน่าย สินค้า OTOP/ ของฝาก ชุมชน

- เอกสารที่เกี่ยวข้อง - งานวิจัยในอดีต

รายละเอียดของรูปแบบ และมาตรฐานการจัดการ ร้านจ าหน่ายสินค้า OTOP/ ของฝากชุมชน 2. การก าหนด

กรอบแนวคิดใน การศึกษา

การสังเคราะห์ข้อมูล จากกิจกรรมข้อ 1.

- ข้อมูลทุติยภูมิในส่วน ที่เกี่ยวข้อง

กรอบแนวคิดใน การศึกษา

ประเด็นส าหรับการ สัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญ 3. การสัมภาษณ์

ผู้เชี่ยวชาญ

สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ (ภาครัฐและเอกชน ทั้ง ในและนอกพื้นที่)

- กลุ่มตัวอย่าง ประมาณ 5-7 ราย

- ข้อมูลในการตอบ วัตถุประสงค์การศึกษา ในงานวิจัยในข้อ 2.

4. การรวบรวม ข้อมูลและการ บริหารการจัดเก็บ ข้อมูล

ผู้ประกอบการ

สัมภาษณ์ผู้ประกอบการ - กลุ่มตัวอย่าง

ผู้ประกอบการในพื้นที่

อ าเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ซึ่งมี

จ านวนขนาดตัวอย่าง ตามที่ก าหนด

- ข้อมูลในการตอบ วัตถุประสงค์การศึกษา ในงานวิจัยในข้อ 1.

5. การรวบรวม ข้อมูลจากลูกค้าที่

เข้ามาซื้อสินค้า

แบบสอบถามความพึง พอใจของลูกค้า

- ลูกค้าที่เข้ามาซื้อสินค้า จากร้านจ าหน่ายสินค้า ในข้อ 4

- ข้อมูลในการตอบ วัตถุประสงค์การศึกษา ในงานวิจัยในข้อ 1.

6. ประชุมกลุ่มย่อย ประชุมระดมความ คิดเห็น

-ผู้เชี่ยวชาญ ผู้วิจัย และ ตัวแทนผู้ประกอบการ

- ข้อมูลรูปแบบการ บริหารจัดการ 7. ฝึกอบรม

ผู้ประกอบการ

-วิทยาการ นักวิจัย และ ผู้ประกอบการ

- กระบวนการบริหาร จัดการร้านจ าหน่าย สินค้า OTOP และของ ฝากชุมชน

ตารางที่ 4 ระยะเวลาท าการวิจัย และแผนการด าเนินงานตลอดโครงการวิจัย (ต่อ)

กิจกรรม วิธีการ กลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์

8. การตรวจสอบ บันทึกและประมวล ผลข้อมูล

ผู้วิจัยบันทึกและ ประมวลผลข้อมูล

- ข้อมูลที่ได้รับจาก กิจกรรมข้อ 3.-5.

- ข้อมูลที่ผ่านการจัด ระเบียบด้วยวิธีการ ทางสถิติ ซึ่งพร้อม ส าหรับการวิเคราะห์/

แปลผล 9. การแปลผลและ

จัดท ารายงาน

ผู้วิจัยวิเคราะห์/ แปล ผลข้อมูลที่ได้รับและ ด าเนินการจัดท า รายงาน

- ข้อมูลที่ผ่านการจัด ระเบียบแล้วจากกิจกรรม ข้อ 6.

- (ร่าง) รายงานวิจัย

10. ตรวจสอบความ ถูกต้องของรายงาน

ผู้ทรงคุณวุฒิ

ตรวจสอบความ ถูกต้องของเนื้อหา และรูปแบบ

- (ร่าง) รายงาน ฯ ที่ได้รับ จากกิจกรรมข้อ 7.

- (ร่าง) รายงาน ฯ ที่

ผ่านการตรวจสอบ ความถูกต้องแล้ว

11. การปรับปรุง (ถ้า มี) และน าเสนอ รายงาน

ปรับปรุง (ถ้ามี) จาก ข้อคิดเห็นของผู้ทรง คุณวุฒิ

- ผู้ทรงคุณวุฒิ - รายงาน ฯ (ฉบับ สมบูรณ์)