• Tidak ada hasil yang ditemukan

คะแนนการวัดความรู้เรื่องทางการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทยตามองค์ประกอบ

ความรู้เรื่องทางการเงิน 21 คะแนน ความรู้ทางการเงิน

(7 คะแนน)

พฤติกรรมทางการเงิน (9 คะแนน)

ทัศนคติทางการเงิน (5 คะแนน) 1.การหาร(ไม่คิดคะแนน) 1.ตัดสินใจทางการเงินและจัดสรร

เงินก่อนใช้

1.มีชีวิตอยู่เพื่อวันนี้และไม่ได้

คิดวางแผนเพื่ออนาคต 2.มูลค่าของเงินตามกาลเวลา 2.เลือกวิธีการออมที่เหมาะสม 2.มีความสุขในการใช้เงิน

มากกว่าเก็บออมเพื่ออนาคต 3.ค านวณดอกเบี้ยสินเชื่อ 3.ไตร่ตรองก่อนซื้อ 3.มีเงินต้องใช้จ่ายอย่างเต็มที่

4.ค านวณเงินต้นและดอกเบี้ย เงินฝาก

4.ช าระค่าใช้จ่ายตรงเวลา

5.ค านวณดอกเบี้ยเงินฝากทบ ต้น

5.ดูแลการเงินของตนเองอย่าง ใกล้ชิด

6.นิยามเงินเฟ้อ 6.ตั้งเป้าหมายระยะยาว

7.ความเสี่ยงและผลตอบแทน 7.เปรียบเทียบข้อมูลก่อนการซื้อ และศึกษาข้อมูลจากแหล่งที่

เหมาะสมก่อนตัดสินใจ

ตาราง 2 ต่อ

ความรู้เรื่องทางการเงิน 21 คะแนน ความรู้ทางการเงิน

(7 คะแนน)

พฤติกรรมทางการเงิน (9 คะแนน)

ทัศนคติทางการเงิน (5 คะแนน) 8.การกระจายความเสี่ยงใน

การลงทุน

8.ไม่กู้เมื่อเงินไม่พอใช้

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย (2563, น.4)

โดยองค์ประกอบด้านความรู้ทางการเงินนั้น ใช้การถามให้ตอบด้วยค าตอบ ปลายเปิดและค าตอบแบบหลายตัวเลือก กับ 8 ประเด็นโดยเกณฑ์การให้คะแนนมีทั้งแบบถ้าตอบ ค าถามถูกจึงจะได้คะแนน 1 คะแนน เช่น ข้อความถามที่วัดความรู้ในเรื่องการค านวณดอกเบี้ย สินเชื่อที่ถามว่า “สมมติว่าท่านยืมเงินเพื่อน 100 บาทในวันนี้และเพื่อนให้ท่านน าเงินมาคืน 120 บาทในอีก 1 ปีข้างหน้า ท่านคิดว่า ท่านได้จ่ายดอกเบี้ยให้แก่เพื่อนในการยืมครั้งนี้เท่าไหร่ ...

บาท” หรือแบบต้องเลือกตัวเลือกให้ถูกจึงจะได้คะแนน เช่น

สมมติว่าอีก 1 ปีข้างหน้าเกิดภาวะเงินเฟ้อ ท่านคิดว่าเงิน 500 บาทที่ท่านมีอยู่ใน วันนี้จะซื้อของได้มากขึ้นหรือน้อยลงในปีหน้า

 1) ไม่ทราบ

 2) มากกว่า

 3) เท่ากัน

 4) น้อยกว่า

 5) ขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้าที่จะซื้อ

ในขณะที่องค์ประกอบด้านพฤติกรรมทางการเงินนั้น ใช้การถามและตอบด้วย ค าตอบแบบหลายตัวเลือก โดยจะได้ 1 คะแนนเมื่อตอบค าถามได้ถูกต้อง เช่น

ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันท่านมีการจัดสรรเงินออมอย่างไร

 1) น าเงินที่ได้ไปจับจ่ายใช้สอยก่อน ถ้ามีเหลือจึงจะเก็บออม

 2) แบ่งส่วนของเงินออมไว้ ก่อนที่จะน าเงินไปจับจ่ายใช้สอย

 3) ไม่แน่นอน

นอกจากนั้นแล้วยังมีใช้การถามและให้ตอบด้วยค าตอบที่เป็นระดับความเห็นด้วย โดยถ้าตอบตรงกับระดับความเห็นที่ตรงกับค าตอบที่ตั้งไว้ก็จะได้ 1 คะแนน

และในส่วนขององค์ประกอบด้านทัศนคติทางการเงินนั้น ใช้การถามและให้ตอบด้วย ค าตอบที่เป็นระดับความเห็นด้วยเพียงแบบเดียว โดยถ้าตอบตรงกับระดับความเห็นที่ตรงกับ ค าตอบที่ตั้งไว้ก็จะได้ 1 คะแนน เช่น

ข้อความ เห็น

ด้วย มาก

เห็น ด้วย

เฉยๆ ไม่เห็น ด้วย

ไม่เห็น ด้วย อย่าง

มาก ท่านมีชีวิตอยู่เพื่อวันนี้และไม่ได้คิด

วางแผนส าหรับอนาคต

ภาพประกอบ 7 ตัวอย่างค าถามและค าตอบการวัดทัศนคติทางการเงิน

OECD INFE (2011, p.6)ได้เสนอแนวทางการวัดความรู้เรื่องทางการเงินในการ ส ารวจความรู้เรื่องทางการเงินของประชาชนทั่วไปที่มีอายุระหว่าง 18 ถึง 79 ปีด้วยวิธีการ สัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวและสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ ซึ่งเครื่องมือที่ใช้วัดคือ แบบสัมภาษณ์ตาม องค์ประกอบของความรู้เรื่องทางการเงินที่ประกอบไปด้วย 3 ด้านคือ ความรู้ทางการเงิน ทัศนคติ

ทางการเงิน และพฤติกรรมทางการเงิน

OECD (2013, p.146)ได้เสนอแนวทางการวัดความรู้เรื่องทางการเงินในโครงการ ประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) โดยใช้เครื่องมือวัดคือ แบบวัความรู้เรื่องทางการเงิน ที่ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ 1.แบบทดสอบแบบเลือกตอบหลายตัวเลือกและแบบเขียนตอบสั้น และ 2.แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง โดยมีการวางโครงสร้างการวัดความรู้เรื่องทางการเงินเป็น 2 ด้าน คือ 1.ความรู้และความสามารถทางการเงิน 2.พฤติกรรมและทัศนคติทางการเงิน ดังรายละเอียด ดังนี้ (ปรินทร์ ทองเผือก, 2561, น.26)

1. ความรู้และความสามารถทางการเงิน แบ่งออกเป็น 3 ด้านย่อยคือ

1.1 เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เรื่องทางการเงิน 4 ด้าน

1.1.1 เงินและการท าธุรกรรม ประกอบด้วย การตระหนักรู้ในรูปแบบและ หน้าที่ต่างๆของเงิน การจัดการและท าธุรกรรมทางการเงินพื้นฐาน เช่น การช าระเงินในชีวิต ประจ าวัน บัตรต่างๆของธนาคาร บัญชีธนาคาร สกุลเงินต่างๆ เป็นต้น

1.1.2 การวางแผนและการจัดการทางการเงิน เช่น การดูแลรายรับ รายจ่าย ความสามารถในการใช้รายรับและทรัพยากรอื่นๆในการสร้างความอยู่ดีมีสุขทางการเงิน

1.1.3 ความเสี่ยงและผลตอบแทน เช่น สามารถระบุวิธีในการจัดการ สร้างสมดุล และป้องกันความเสี่ยงจากการประกันภัย และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการออม ประเภทต่างๆ

1.1.4 ภูมิทัศน์ทางการเงิน เช่น ความรู้เกี่ยวกับสิทธิและความรับผิดชอบ เข้าใจสภาพแวดล้อมทางการเงิน เข้าใจผลกระทบของการตัดสินใจทางการเงิน

1.2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับความรู้เรื่องทางการเงิน แบ่งเป็น 4 ด้านคือ 1.2.1 การระบุข้อมูลทางการเงิน

1.2.2 การวิเคราะห์ข้อมูลตามบริบททางการเงิน 1.2.3 การประเมินประเด็นทางการเงิน

1.2.4 การน าความรู้และความเข้าใจทางการเงินไปใช้

1.3 บริบทที่เกี่ยวข้องกับความรู้เรื่องทางการเงิน แบ่งเป็น 4 ด้านคือ 1.3.1 การศึกษาและการท างาน

1.3.2 บ้านและครอบครัว 1.3.3 ส่วนบุคคล 1.3.4 สังคม

2.พฤติกรรมและเจตคติทางการเงิน แบ่งออกเป็น 4 ด้านคือ 2.1 การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและการศึกษา

2.2 การเข้าถึงเงินและผลิตภัณฑ์ทางการเงิน 2.3 เจตคติและความเชื่อมั่นต่อเงิน

2.4 พฤติกรรมการใช้จ่ายและการออม

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร

สมพร หลิมเจริญ (2552) ได้ท าการวิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรเสริมเพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ส าหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรเสริมเพื่อ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ส าหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 และประเมินประสิทธิภาพหลักสูตรเสริม โดยมีขั้นตอนด าเนินการ 4 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเพื่อเป็น แนวทางการพัฒนาหลักสูตร ขั้นตอนที่ 2 เป็นขั้นตอนของการพัฒนาหลักสูตรและประเมินคุณภาพ ของหลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ขั้นตอนที่ 3 เป็นขั้นตอนของการตรวจสอบประสิทธิภาพของ หลักสูตร และขั้นตอนที่ 4 เป็นขั้นตอนของการประเมินผลและปรับปรุงหลักสูตร โดยผลการวิจัย พบว่าองค์ประกอบที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ประกอบไปด้วยคุณลักษณะ 2 มิติคือ 1.มิติด้าน การคิด ได้แก่ความคิดคล่องแคล่ว ความคิดยืดหยุ่น ความคิดริเริ่ม 2.มิติด้านจิตใจและบุคลิกภาพ ได้แก่ ความอยากรู้อยากเห็น และความเชื่อมั่นในตนเอง โดยผู้วิจัยน าหลักสูตรเสริมนี้ไปเป็นแนว ทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งมีโครงสร้างเนื้อหา 4 หน่วยการเรียนรู้ และใช้เวลารวมทั้งสิ้น 29 ชั่วโมง กิจกรรมหลักที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง และกิจกรรมการสอน สืบสวนสอบสวนแบบอิงอริยสัจสี่ ส าหรับการตรวจสอบประสิทธิภาพของหลักสูตร ผู้วิจัยใช้การ วิจัยเชิงทดลองแบบ randomized pretest-posttest control group design กับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 จ านวน 2 ห้องเรียน ซึ่งเลือกมาโดยใช้กระบวนการสุ่ม ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความคิดสร้างสรรค์สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมี

นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนกลุ่มทดลองมีระดับความคิดเห็นต่อหลักสูตรเสริมอยู่ใน ระดับดีมาก ผลการประเมินหลักสูตรเสริมพบว่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก าหนดหลังการทดลอง ผู้วิจัยได้ด าเนินการปรับปรุงแผนการสอน ด้านระยะเวลา และด้านภาษาในค าชี้แจงในแผนการ สอนบางหน่วยเพื่อให้เหมาะสมยิ่งขึ้น แล้วจัดท าเป็นหลักสูตรเสริมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

ฉบับสมบูรณ์

กิตติศักดิ์ ลักษณา (2554)ได้ท าการวิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรสันติศึกษาตาม แนวคิดการเรียนรู้โดยเน้นทีมส าหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาและประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรสันติศึกษาตามแนวคิดการเรียนรู้โดยเน้นทีมส าหรับ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยผู้วิจัยได้แบ่งขั้นตอนการวิจัยออกเป็น 4 ขั้นได้แก่ ขั้นที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับเป้าหมายและเนื้อหาของสันติศึกษา และหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นแล้วยังมีการสัมภาษณ์นักวิชาการด้านสันติศึกษา ครู นักเรียน เกี่ยวกับสภาพความต้องการจ าเป็นในการพัฒนาจิตแห่งความเคารพและการท างานเป็นทีม ขั้นที่

2 คือขั้นตอนของการจัดท ารายละเอียดหลักสูตร โดยน าข้อมูลขั้นพื้นฐานมาก าหนดโครงร่าง เป้าหมายและเนื้อหาของหลักสูตรสันติศึกษาจากนั้นน าไปให้นักวิชาการด้านสันติศึกษาประเมิน ความเหมาะสมและสอดคล้องระหว่างเป้าหมายและเนื้อหาของหลักสูตร จากนั้นก็น าโครงร่าง หลักสูตรที่แก้ไขแล้วไปให้ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 คนตรวจสอบความเหมาะสมสอดคล้องของโครง ร่างหลักสูตร เอกสารประกอบหลักสูตร และแผนการจัดการเรียนรู้สันติศึกษาตามแนวคิดการ เรียนรู้โดยเน้นทีม ขั้นที่ 3 คือขั้นตอนของการน าหลักสูตรไปใช้ โดยน าหลักสูตรไปใช้กับนักเรียน โรงเรียนสิริรัตนาธรจ านวน 80 คนโดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมอย่างละ 40 คน ซึ่งผล การทดลองพบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติต่อ หลักสูตรสันติศึกษา จิตแห่งความเคารพ และการท างานเป็นทีมสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุม และมี

คะแนนดังกล่าวหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ และขั้นที่ 4 คือการประเมิน ประสิทธิผลของหลักสูตรซึ่งผลที่พบคือ บรรลุเกณฑ์ประสิทธิผลที่ก าหนดไว้ทั้ง 5 เกณฑ์

วัลลยา ธรรมอภิบาล (2555)ได้ท าการวิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างจิต สาธารณะ ส าหรับนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา โดยมีวัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างจิตสาธารณะและศึกษาประสิทธิผลของหลักสูตร และผู้วิจัยได้แบ่ง ขั้นตอนในการวิจัยเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน โดย รวบรวมจากเอกสาร และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง และการสนทนากลุ่มกับกลุ่มนิสิต ชมรมฝ่ายบ าเพ็ญประโยชน์ พบว่าจิตสาธารณะเป็นคุณลักษณะส าคัญและจ าเป็นต้องเสริมสร้าง ให้แก่นิสิตตามองค์ประกอบของการมีจิตสาธารณะทั้ง 3 ด้านได้แก่ การรู้คิด ด้านเจตคติ และด้าน พฤติกรรม ขั้นตอนที่ 2 เป็นขั้นตอนของการสร้างหลักสูตรประกอบด้วย แนวคิดพื้นฐาน หลักการ และเหตุผล วัตถุประสงค์หลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร การจัดประสบการณ์เรียนรู้ตาม กระบวนการพัฒนาจิตสาธารณะ 4 ขั้นตอนได้แก่ ขั้นการรับรู้ ขั้นการตอบสนอง ขั้นการเห็นคุณค่า และขั้นการจัดระบบและสร้างอุปนิสัย โดยผลประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของ หลักสูตรพบว่า ทุกองค์ประกอบของหลักสูตรเหมาะสม และสอดคล้องกับการเสริมสร้างจิต สาธารณะให้แก่นิสิต ขั้นตอนที่ 3 เป็นขั้นตอนของการทดลองใช้หลักสูตรเพื่อตรวจสอบประสิทธิผล ของหลักสูตร โดยการใช้วิธีการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว โดยมีการวัดก่อนการทดลอง 1 ครั้ง หลังการทดลอง 1 ครั้งกับนิสิตปริญญาตรีภาคปกติชั้นปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์จ านวน 40 คน ผลการวิจัยพบว่าระดับจิตสาธารณะของนิสิตกลุ่มเป้าหมายก่อนการทดลองและหลังการทดลอง ใช้หลักสูตรแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ และผลการปฏิบัติการโครงการจิตสาธารณะผ่าน เกณฑ์การประเมินทุกขั้นตอน รวมทั้งนิสิตมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรในระดับมาก ขั้นตอนที่ 4