• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตาราง 57 ต่อ) ราย ด้

(ต่อเดือน)

ต ่ากว่าหรือ เท่ากับ 20,000

บาท

20,001-50,000 บาท

50,001-80,000 บาท

80,001 บาท ขึ้นไป 20,001-

50,000 บาท 1.77 -0.71* -0.18

(0.00) (0.37) 50,001-

80,000 บาท 2.48 0.54*

(0.01) 80,001 บาท

ขึ้นไป 1.94

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตาราง 57 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการ ลงทุนด้านจ านวนครั้งที่ท่านลงทุน (ครั้ง/ปี) ในกองทุนรวมตราสารทุนที่เน้นลงทุนแบบมีความเสี่ยง ต่างประเทศของนักลงทุนชาวไทยในเขตกรุงเทพมหานคร จ าแนกตามรายได้(ต่อเดือน) โดยใช้

LSD พบว่า สามารถแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม นั่นคือ

นักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน)ต ่ากว่าหรือเท่ากับ 20,000 บาท กับ นัก ลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 50,001-80,000 บาท มีค่า p-value < 0.01 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 หมายความว่า นักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน)ต ่ากว่าหรือเท่ากับ 20,000 บาท มีพฤติกรรมการ ลงทุนด้านจ านวนครั้งที่ท่านลงทุน (ครั้ง/ปี) แตกต่างกับนักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 50,001- 80,000 บาทอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ 0.05

นักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 20,001-50,000 บาทกับ นักลงทุนที่มี

รายได้(ต่อเดือน) 50,001-80,000 บาท มีค่า p-value < 0.01 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 หมายความว่า นัก ลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 20,001-50,000 บาทมีพฤติกรรมการลงทุนด้านจ านวนครั้งที่ท่านลงทุน (ครั้ง/ปี) แตกต่างกับนักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 50,001-80,000 บาทอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ 0.05

นักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 50,001-80,000 บาทกับ นักลงทุนที่มี

รายได้(ต่อเดือน) 80,001 บาทขึ้นไปมีค่า p-value เท่ากับ 0.01 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 หมายความว่า นักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน)50,001-80,000 บาท มีพฤติกรรมการลงทุนด้านจ านวนครั้งที่ท่าน

ลงทุน (ครั้ง/ปี)แตกต่างกับนักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 80,001 บาทขึ้นไป อย่างมีนัยส าคัญที่

ระดับ 0.05

ส่วนคู่อื่นไม่พบความแตกต่างเป็นรายคู่ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่

ระดับ 0.05

ตาราง 58 แสดงผลการเปรียบเทียบรายคู่ระหว่างอาชีพกับพฤติกรรมการลงทุนด้านระยะเวลาการ ถือครองหน่วยลงทุน โดยใช้วิธี Dunnett’s T3

ราย ด้

(ต่อเดือน)

ต ่ากว่าหรือ เท่ากับ 20,000

บาท

20,001-50,000 บาท

50,001-80,000 บาท

80,001 บาท ขึ้นไป

ด้านระยะเวลาการถือครองหน่วยลงทุน ต ่ากว่าหรือ

เท่ากับ 20,000 บาท

1.80 -0.27 -0.80* -0.54

(0.72) (0.02) (0.34)

20,001-

50,000 บาท 2.07 -0.53* -0.27

(0.00) (0.73) 50,001-

80,000 บาท 2.60 0.26

(0.78) 80,001 บาท

ขึ้นไป 2.34

*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตาราง 58 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการ ลงทุนด้านระยะเวลาการถือครองหน่วยลงทุน ในกองทุนรวมตราสารทุนที่เน้นลงทุนแบบมีความ เสี่ยงต่างประเทศของนักลงทุนชาวไทยในเขตกรุงเทพมหานคร จ าแนกตามรายได้(ต่อเดือน) โดย ใช้ วิธี Dunnett’s T3 พบว่า สามารถแบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม นั่นคือ

นักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน)ต ่ากว่าหรือเท่ากับ 20,000 บาท กับ นัก ลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 50,001-80,000 บาท มีค่า p-value. เท่ากับ 0.02 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 หมายความว่า นักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน)ต ่ากว่าหรือเท่ากับ 20,000 บาท มีพฤติกรรมการ

ลงทุนด้านระยะเวลาการถือครองหน่วยลงทุน แตกต่างกับนักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 50,001- 80,000 บาทอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ 0.05

นักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 20,001-50,000 บาทกับ นักลงทุนที่มี

รายได้(ต่อเดือน) 50,001-80,000 บาท มีค่า p-value < 0.01 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 หมายความว่า นัก ลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 20,001-50,000 บาทมีพฤติกรรมการลงทุนด้านระยะเวลาการถือครอง หน่วยลงทุน แตกต่างกับนักลงทุนที่มีรายได้(ต่อเดือน) 50,001-80,000 บาทอย่างมีนัยส าคัญที่

ระดับ 0.05

ส่วนคู่อื่นไม่พบความแตกต่างเป็นรายคู่ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่

ระดับ 0.05

สมมติฐานข้อที่ 2. ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ ลงทุนในกองทุนรวมตราสารทุนที่เน้นลงทุนแบบมีความเสี่ยงต่างประเทศของนักลงทุนชาวไทยใน เขตกรุงเทพมหานคร

H0: ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดไม่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการลงทุนใน กองทุนรวมตราสารทุนที่เน้นลงทุนแบบมีความเสี่ยงต่างประเทศของนักลงทุนชาวไทยในเขต กรุงเทพมหานคร

H1: ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการลงทุนใน กองทุนรวมตราสารทุนที่เน้นลงทุนแบบมีความเสี่ยงต่างประเทศของนักลงทุนชาวไทยในเขต กรุงเทพมหานคร

ส าหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) โดยการเลือกตัวแปรอิสระเข้าสมการถดถอยด้วยเทคนิค Stepwise และ แสดงค่านัยส าคัญทางสถิติโดยใช้ระดับความเชื่อมั่น 95% ดังนั้นจะปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0ก็

ต่อเมื่อ p-value มีค่าน้อยกว่า 0.05 ซึ่งก าหนดตัวแปร ดังนี้

X1ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์

X2ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดด้านราคา

X3ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดด้านการจัดจ าหน่าย X4ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดด้านการส่งเสริมการตลาด X5ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดด้านบุคลากร

X6ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดด้านลักษณะทางกายภาพ X7ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดด้านกระบวนการบริการ

Y1พฤติกรรมการลงทุนในกองทุนรวมตราสารทุนที่เน้นลงทุนแบบมีความ เสี่ยงต่างประเทศของนักลงทุนชาวไทยในเขตกรุงเทพมหานคร

ตาราง 59 แสดงผลการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณพฤติกรรมการลงทุนในกองทุนรวมตราสาร ทุนที่เน้นลงทุนแบบมีความเสี่ยงต่างประเทศของนักลงทุนชาวไทยในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้

การวิเคราะห์ Linear Regression

แหล่งความแปรปรวน SS df MS F Sig.

Regression 2.74 1 2.74 4.86* 0.03

Residual 224.20 398 0.56