• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อค าถามในประเด็นความต้องการจ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษา

อาจารย์ ที่ปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมตรวจสอบความเหมาะสมของข้อค าถาม ภาษาที่ใช้

และการจัดรูปแบบการพิมพ์ ปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าและจัดท าเป็นแบบสอบถามฉบับร่าง 3.5 ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ผู้วิจัยน าแบบสอบถามฉบับร่าง พร้อมกับรายละเอียดเกี่ยวกับหัวข้อวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย กรอบแนวคิดในการวิจัย นิยามเชิง ปฎิบัติการของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยให้ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 3 ท่าน ตรวจสอบคุณภาพของ แบบสอบถามในด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยพิจารณาความสอดคล้องและความเหมาะสม ของข้อค าถามเป็นรายข้อกับนิยามเชิงปฎิบัติการ (Item Objective Congruence: IOC) มีการให้

คะแนน ดังนี้

+1 หมายถึง ข้อค าถามมีความสอดคล้องกับนิยามเชิงปฎิบัติการที่

ต้องการวัด

0 หมายถึง ข้อค าถามมีความไม่ชัดเจนว่าสอดคล้องกับนิยามเชิง ปฎิบัติการที่ต้องการวัด

-1 หมายถึง ข้อค าถามไม่มีความสอดคล้องกับนิยามเชิงปฎิบัติการที่

ต้องการวัด

เกณฑ์การพิจารณาจากค่าดัชนี IOC โดยถือเกณฑ์ .50 ขึ้นไป แสดง ว่าข้อค าถามสอดคล้องกับนิยามเชิงปฎิบัติการ (ศิริชัย กาญจนวาสี. 2556: 97) ภายหลังจาก ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความสอดคล้องของแบบสอบถามแล้ว คัดเลือกข้อค าถามที่ผ่านเกณฑ์และ ปรับปรุงภาษาที่ใช้ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ ไว้ใช้ทั้งหมด 30 ข้อ ซึ่งเป็นข้อค าถามที่มีค่า ดัชนี IOC ตั้งแต่ .60 - 1.00

3.6 การทดลองใช้แบบสอบถามเพื่อตรวจสอบค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของเครื่องมือ ผู้วิจัยน าแบบสอบถามที่ปรับแก้ไขแล้วไปทดลองใช้ (try out) กับกลุ่มตัวอย่างที่มี

ลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจริง จ านวน 30 คน และวิเคราะห์หาค่าอ านาจ จ าแนกของข้อค าถามเป็นรายข้อ โดยใช้สูตรสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation) แล้วคัดเลือกเฉพาะข้อที่มีอ านาจจ าแนกตั้งแต่ .20 ขึ้นไป และวิเคราะห์หาค่าความ เชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามทั้งฉบับด้วยวิธีการประมาณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอน บาค (Cronbach’s alpha Coefficient) มีค่าเท่ากับ .90

3.7 ผู้วิจัยปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามจนได้แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ และ น าแบบสอบถามไปให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามเพื่อน ามาวิเคราะห์ล าดับความต้องการ จ าเป็นในล าดับต่อไป

การเก็บรวบรวมข้อมูล

แบบสัมภาษณ์เชิงลึก มีรายละเอียด ดังนี้

1. ติดต่อผู้ให้สัมภาษณ์เพื่อขออนุญาตเก็บข้อมูลวิจัย และแจ้งรายละเอียด เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้อย่างไม่เป็นทางการ

2. น าหนังสือรับรองอย่างเป็นทางการ จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ พร้อมทั้งประเด็นค าถามในการสัมภาษณ์ไปยื่นให้กับผู้ให้สัมภาษณ์ พร้อมทั้ง นัดหมายวัน เวลา และสถานที่สัมภาษณ์

3. ด าเนินการสัมภาษณ์ ขออนุญาตบันทึกเสียงในระหว่างการสัมภาษณ์ และ จดบันทึกการสัมภาษณ์

แบบสอบถามประเมินความต้องการจ าเป็นของนิสัยอุตสาหกรรมของ นักศึกษามีรายละเอียด ดังนี้

1. ผู้วิจัยท าหนังสือขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดย ผู้บังคับบัญชาอนุญาตให้ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อใช้ในการวิจัยครั้งนี้

2. น าหนังสือรับรองจากมหาวิทยาลัย เสนอต่อผู้บังคับบัญชาของกลุ่มตัวอย่าง เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3. ด าเนินการน าแบบสอบถามไปเก็บรวบรวมข้อมูลตามวันเวลาที่นัดหมายด้วย ตนเอง โดยก ากับติดตามแบบสอบถามคืนและตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลแล้วท าการ วิเคราะห์ข้อมูลต่อไป

การวิเคราะห์ข้อมูล

ในขั้นตอนการวิเคราะห์ประเมินความต้องการจ าเป็นในการเสริมสร้างนิสัย อุตสาหกรรมของนักศึกษาฯ ได้แก่

1. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเพื่ออธิบายลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม ด้วย สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2. สถิติที่ใช้ในการจัดล าดับความต้องการจ าเป็น

การวิเคราะห์ Modified Priority Needs Index (PNI Modified) (สุวิมล ว่องวานิช 2558: 80) โดยมีสูตร ดังนี้

(PNI Modified) = (I - D) / D

โดย I (importance) หมายถึง ระดับความคาดหวังที่ต้องการให้เกิด D (Degree of Success) หมายถึง ระดับสภาพที่เป็นจริงในปัจจุบัน โดยตั้งเกณฑ์การประเมินไว้ว่า ค่าดัชนีที่มีค่า 0.3 ขึ้นไป ถือเป็นความต้องการ จ าเป็นส่วนการจัดล าดับความส าคัญของความต้องการจ าเป็นใช้การเรียงดัชนีจากมากไปน้อย ดัชนีที่มีค่ามากแปลว่ามีความต้องการจ าเป็นสูงที่ต้องได้รับการพัฒนามากกว่าดัชนีที่มีค่าน้อย

3. การวิเคราะห์เมทริกซ์ (matrix analysis) เป็นวิธีการวิเคราะห์ที่เน้นการเสนอ ผลการด าเนินงานของหน่วยงานในส่วนที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อนที่ควรได้รับการพัฒนาโดยการ แบ่ง ตารางออกเป็น 4 ช่อง แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพที่มุ่งหวัง (หรือเรียกว่าเกณฑ์ที่ควรจะ เป็น) และสภาพที่เกิดขึ้นจริง จุดที่ใช้ในการแบ่งอาจเป็นค่าเฉลี่ยของคะแนนสูง-ต ่าที่ก าหนด หรือ เกณฑ์ที่ผู้ประเมินเห็นว่าเหมาะสมที่จะเป็นจุดตัด (cut-off score) แสดงดังภาพประกอบ 5

เกณฑ์การแปลความหมาย ดังนี้

1 หมายถึง เกณฑ์ที่ควรจะเป็นมีระดับต ่า แต่ผลการด าเนินงานสูงกว่า เกณฑ์ที่ก าหนด หมายความว่า ผลการด าเนินงานมีคุณภาพเกินเกณฑ์ที่ก าหนด

2 หมายถึง เกณฑ์ที่ควรจะเป็นมีระดับสูง และผลการด าเนินงานสูงกว่า เกณฑ์ที่ก าหนด หมายความว่า ผลการด าเนินงานประสบความส าเร็จในระดับดี

3 หมายถึง เกณฑ์ที่ควรจะเป็นมีระดับสูง แต่ผลการด าเนินงานต ่ากว่า เกณฑ์ที่ก าหนด หมายความว่า ผลการด าเนินงานไม่ประสบความส าเร็จต้องท าการแกไขปรับปรุง อย่างยิ่ง

4 หมายถึง เกณฑ์ที่ควรจะเป็นมีระดับต ่า และผลการด าเนินงานต ่ากว่า เกณฑ์ที่ก าหนด หมายความว่า ผลการด าเนินงานยังอยู่ในสภาพที่ไม่ดีนัก แต่ยังไม่น่าวิตกมาก

เนื่องจากหน่วยงานให้ความส าคัญกับตัวบ่งชี้นั้นไม่สูงนัก สภาพที่เป็นจริง

ผลดีเกินเกณฑ์ ผลงานประสบผลส าเร็จดี

ผลงานยังไม่ดี แต่ยังไม่น่าห่วง ผลงานไม่ดี ต้องปรับปรุง

สภาพที่คาดหวัง ภาพประกอบ 5 ผลการประเมินความต้องการจ าเป็นโดยใช้การวิเคราะห์เมทริกซ์

ระยะที่ 2 การสร้างและหาประสิทธิภาพรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการ ของ นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

การด าเนินการวิจัยในระยะที่ 2 ผู้วิจัยน านิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาตาม

ความต้องการจ าเป็นที่ได้จากการศึกษาในระยะที่ 1 สร้างรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพัน ในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาฯ เพื่อตอบค าถามการวิจัยที่ว่า “รูปแบบการ พัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาฯ มีประสิทธิภาพ อย่างไร”

ความมุ่งหมายของการวิจัย

เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก

1

4

2

3

ขั้นตอนที่ 1 การพัฒนารูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษา

ส าหรับขั้นตอนการสร้างรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก ซึ่งมีรายละเอียดแบ่งออกเป็น 2 กระบวนการ ดังต่อไปนี้

1. การสังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัยและการสัมภาษณ์

1.1 ผู้วิจัยน านิสัยอุตสาหกรรมเบื้องต้นที่ได้จากการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน โดยการวิเคราะห์จากเอกสาร งานวิจัย แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนิสัยอุตสาหกรรม และใช้

เทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth-interview) เก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจาก สถานศึกษา สถานประกอบการและจากมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย 1) ความซื่อสัตย์ 2) ความมี

ระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา 3) ความรับผิดชอบ 4) ความใฝ่เรียนรู้ 5) ความขยันและอดทน 6) ความประหยัด 7) ความตระหนักในความปลอดภัย 8) ความคิดสร้างสรรค์ 9) การท างานเป็น ทีม และ10) การมีจิตสาธารณะ จากนั้นวิเคราะห์ค่าดัชนีล าดับความส าคัญของความต้องการ จ าเป็น (PNI Modified) และคัดเลือกดัชนีที่อยู่ในระดับที่ต้องได้รับการแก้ไขปรับปรุงอย่างยิ่ง เพื่อ น ามาสร้างเป็นรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรมของ นักศึกษาต่อไป

1.2 ผู้วิจัยจัดท าโครงร่างรูปแบบการพัฒนาความยึดมั่นผูกพันในงานเพื่อ เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม ตามความต้องการจ าเป็นของสถานประกอบการ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบทวิภาคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก อาศัยพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีต่างๆมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบรูปแบบ การจัดกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วยทฤษฎีพัฒนาการทางเหตุผลเชิงจริยธรรมของโคลเบอร์ก (Kohlberg’s Description of Moral Development) ท ฤ ษ ฎี ก ารเรีย น รู้ท างสังค ม (Social Learning Theory) ของแบนดูรา แนวคิดการพัฒนาด้านจิตพิสัยของแครทโวล บลูม และมาเซีย (Krathwohl Bloom and Masia) ความยึดมั่นผูกพันในงาน (Work Engagement) ของ Schaufeli มีขั้นตอนการจัดกิจกรรมแต่ละแผนการกิจกรรมประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ขั้นเต็มใจและ เห็นคุณค่า (Willing and Value) ขั้นที่ 2 ขั้นคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ (Analytical Thinking) ขั้น ที่ 3 ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Sharing) ขั้นที่ 4 ขั้นสะท้อนคิด (Reflective Thinking) ขั้นที่ 5 ขั้นสรุป (Conclusion) ขั้นที่ 6 ขั้นสร้างลักษณะนิสัย (Character)